ชีววิทยา

Biology

          1.รู้และเข้าใจในเรื่องความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา เซลล์และการแบ่งเซลล์ เนื้อเยื่อและโครงสร้างสิ่งมีชีวิต
          2.รู้และเข้าใจในเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ นิเวศวิทยา หลักพันธุ์ศาสตร์
          3.มีทักษะการปฏิบัติเทคนิคทางชีววิทยา
          4.มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ละสิ่งแวดล้อม
          5.สามารถสืบค้นและศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับชีววิทยา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับชีววิทยา เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของแต่ละสาขาวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเซลล์ เนื้อเยื่อ โครงสร้างของสิ่งมีชีวิต สรีรวิทยาขั้นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต อนุกรมวิธานของสิ่งมีชีวิต นิเวศวิทยา  และความหลากหลายทางชีวภาพ
จัดให้นิสิตพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 1  ชั่วโมงและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอนแบบบรรยาย และมีส่วนร่วม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
สอนแบบบรรยาย และมีส่วนร่วม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.สอบปฏิบัติ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
สอนแบบบรรยาย และมีส่วนร่วม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.สอบปฏิบัติ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอนแบบบรรยาย และมีส่วนร่วม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-17 5%
3 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ การทดสอบย่อยทุกบทเรียน ตามความเหมาะสม 50%
4 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ การทดสอบกลางภาค 8 20%
5 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ การทดสอบปลายภาค 17 20%
1.กนกธร  ปิยธำรงรัตน์.  2546.  การเจริญของสัตว์.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
 มหาวิทยาลัย.
2.กฤษณ์  มงคลปัญญา  และอมรา  ทองปาน.  2542.ชีววิทยา.  พิมพ์ครั้งที่ 4.  กรุงเทพฯ :
                   ภาควิชาสัตววิทยา  คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
3.โครงการตำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน.2548.  ชีววิทยา  1.  พิมพ์ครั้งที่  2.  
   กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์. 
4.________.2548.  ชีววิทยา  3.  พิมพ์ครั้งที่  2.  กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์. 
5.จันทนา  สุขปรีดี.  ม.ป.ป.  อาณาจักรพืช.  กรุงเทพฯ : ภาควิชาพฤกษศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์ 
  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
6.จำนง  วิสุทธิแพทย์.  2527.  สัตววิทยา.  กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
7.จิรากรณ์คชเสนี.  2544. หลักนิเวศวิทยา.  พิมพ์ครั้งที่ 4.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
 มหาวิทยาลัย.
8.ชูศักดิ์  เวชแพศย์.  2520.สรีรวิทยา.  กรุงเทพฯ : อักษรสมัย.
9.เชาวน์  ชิโนรักษ์  และพรรณี  ชิโนรักษ์.  2528.ชีววิทยา เล่ม 2.  พิมพ์ครั้งที่ 5.  กรุงเทพฯ :
                 โรงพิมพ์อมรการพิมพ์.
10.________.2540.ชีววิทยา เล่ม 1.  พิมพ์ครั้งที่ 5.  กรุงเทพฯ :ศิลปาบรรณาคาร.
11.________.  2541.  ชีววิทยา เล่ม 3.  กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร. 
12.ทบวงมหาวิทยาลัย.2530.  ชีววิทยา.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนการพิมพ์.
13.ทวี  ญาณสุคนธ์.  2516.  คู่มือปฏิบัติการชีววิทยา.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ทำเนียบนายกรัฐมนตรี.
14.เทียมใจ  คมกฤส.  2542.  กายวิภาคของพฤกษ์.  พิมพ์ครั้งที่ 4.  กรุงเทพฯ :
    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
15.ธัญภัค  สังฆมานนท์.  หลักนิเวศวิทยาและสมดุลธรรมชาติ.  [ออนไลน์]  เข้าถึงได้จาก
http://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/(1  ตุลาคม2551).
16.ธวัช  รักศีล.  2534.  สัตววิทยา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนการพิมพ์.
17.นันทพร  จารุพันธ์.  2528.ชีววิทยาเบื้องต้น.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อมรการพิมพ์.
18.นิตยา  เลาหจินดา.  2532.  นิเวศวิทยา.  กรุงเทพฯ : บูรพาสาส์น.
19.บัญญัติ  สุขศรีงาม.  2526.ชีววิทยาเบื้องต้นของเซลล์.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชาได้แก่วิธีการสอนสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงโดยผ่านกิจกรรมดังนี้
1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2) ให้ผู้เรียนประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3) แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเองดูผลการเรียนของผู้เรียนและทำรายงานสรุปพัฒนาการของผู้เรียน ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
- ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
- กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
- การวิจัยในชั้นเรียน
- ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ
- ให้กรรมการทวนสอบสุ่มตรวจสอบการให้คะแนนในรายวิชาหรือรายงานของผู้เรียน
- เปรียบเทียบการให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อในรายวิชาตามเกณฑ์ที่กำหนด
- จัดทำข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชา (หรือกับสถาบันในเครือข่าย)
สาขาวิชามีการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาโดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชาการรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชาเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอภาควิชา / คณะ