ศิลปะไทย 1

Thai Art 1

1. ศึกษาเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของงานศิลปะไทย  มีทักษะในการร่างภาพจากรูปแบบงาน 
    ศิลปกรรมไทยในยุคสมัยต่างๆ
2. ศึกษารูปแบบงานจิตรกรรมไทย  ตามแนวความคิด คตินิยม เทคนิคเฉพาะและมีทักษะในการร่าง
    ภาพตามแบบงานจิตรกรรมไทย
3. ศึกษารูปแบบงานประติมากรรมไทยในยุคสมัยต่างๆและมีทักษะในการร่างภาพตามแบบ
4. ศึกษารูปแบบงานสถาปัตยกรรมไทยและมีทักษะในการร่างภาพตามแบบ
5. ศึกษารูปแบบงานประณีตศิลป์ ลวดลายประดับในงานศิลปกรรมไทยและมีทักษะในการร่างภาพ
    ตามแบบ
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ศิลปะไทย 1ใช้สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ วิชาเอกศิลปะไทย ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาและฝึกปฏิบัติทักษะรูปแบบในงานศิลปะไทย
1.คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะในการร่างภาพในงานศิลปะไทยทั้งจิตรกรรม  ประติมากรรมสถาปัตยกรรม และประณีตศิลป์ ตามแนวความคิด คตินิยม และรูปแบบในห้องปฏิบัติงาน และนอกสถานที่
วิจารณ์และแนะนำเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
 
          อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียนจำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
 สามารถใช้ความรู้โดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม
         
         
 มีศักยภาพในการค้นคว้าและพัฒนาตนเอง
มีคุณธรรม  จริยธรรม  รับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม
 มีความรู้  ความสามารถในงานศิลปะไทย
         
         
วิธีการสอนโดยการบรรยาย อภิปราย ซักถาม ยกตัวอย่างพร้อมอธิบายภาพประกอบการบรรยาย
 วิธีการประเมินผลโดยแบบทดสอบด้านความรู้ แบบทดสอบกลางภาค แบบทดสอบปลายภาค ครบทุกหน่วยเรียนในรายวิชา
 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนาทางด้านความคิดอย่างเป็นระบบ อธิบายขั้นตอนและลักษณะเฉพาะของงานที่ปฏิบัติได้
 
         
  วิธีการสอนโดยใช้การบรรยาย พร้อมให้ปฏิบัติงานตามใบงานในแต่ละหน่วยเรียน
 วิธีการประเมินผลโดยมอบหมายใบงานแบบฝึกปฏิบัติด้านทักษะทางปัญญาในแต่ละหน่วยเรียน
 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบระหว่างผู้เรียน และผู้สอน
         
         
 วิธีการสอนจัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงานกลุ่ม รายงานความก้าวหน้าของงาน
 ประเมินจากผลงานที่มอบหมายเป็นกลุ่ม และการมีปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน
 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  วิธีการสอนค้นคว้าหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต วิเคราะห์ข้อมูล
  ประเมินจากการสืบค้นข้อมูลในการอ้างอิงระบบสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง
สามารถปฏิบัติงานที่มอบหมายได้
มอบหมายใบงานแบบฝึกปฏิบัติด้านทักษะพิสัย
 ประเมินจากการร่างภาพ การเลือกใช้วัสดุ ผ่านรูปแบบและลักษณะของงานศิลปกรรมต่างๆที่กำหนดได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหาในการสร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้คน 1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตราฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 3.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภานไหวพริบในการสร้างผลงาน 4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และการนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BFAVA135 ศิลปะไทย 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านทักษะพิสัย ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความรู้ การส่งผลงานครั้งที่ 1 - 8 การส่งผลงานครั้งที่ 1 - 8 สอบกลางภาค 1 - 8 1 - 8 9 27% 2.7% 13.5%
2 ด้านทักษะพิสัย ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความรู้ การส่งผลงานครั้งที่ 10-16 การส่งผลงานครั้งที่ 10-16 สอบปลายภาค 10-16 10-16 18 23% 2.3% 11.5%
3 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การทำงานกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลออนไลน์หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 5% 5%
4 ด้านคุณธรรมจริยธรรม จิตพิสัยความสนใจการเรียนสม่ำเสมอการแต่งกายสะอาดการเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สันติ เล็กสุขุม. (2554). ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย [ฉบับย่อ]: การเริ่มต้นและการสืบเนื่องงานช่างในศาสนา.                 พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
          น. ณ ปากน้ำ[นามแฝง]. (2550). วิวัฒนาการลายไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
          สุรพล ดำริห์กุล. (2544). ลายคำล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
          ลิปิกร มาแก้ว. (2558). ลายคำ น้ำแต้ม . เชียงใหม่: โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา.
          วิทยา พลวิฑูรย์. (2555). แต้มเส้น เขียนสาย ลายคำจั๋งโก๋. เชียงใหม่:  โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา.
          __________. (2561). ลายคำจั๋งโก่ ลวดลายแห่งอัตลักษณ์ล้านนา. เชียงใหม่:  โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญา
                      ล้านนา.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับงานศิลปะไทย
- วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ เช่น Arts of asia
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะไทย
- บทความทางวิชาการ
- ประเมินในระบบของมหาวิทยาลัย
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่าง
   หลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย