ออกแบบตกแต่งภายใน

Interior Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีแนวคิดและกระบวนการออกแบบตกแต่ง การจัดวางเครื่องเรือน การเลือกใช้สีและวัสดุตกแต่งอาคารและสถานที่
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีแนวคิดและกระบวนการออกแบบตกแต่ง การจัดวางเครื่องเรือน การเลือกใช้สีและวัสดุตกแต่งอาคารและสถานที่
ฝึกปฏิบัติ ออกแบบงานตกแต่งภายใน สัญลักษณ์ มาตราส่วน สี แนวคิดและกระบวนการออกแบบตกแต่ง การจัดวางเฟอร์นิเจอร์ ประโยชน์ใช้สอย การเลือกใช้สี และวัสดุตกแต่งภายในอาคาร
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ประจำตัวและสาขาวิชา อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ตามความต้องการ 2 ชั่งโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพให้สิทธิของข้อมูลและแนวคิดของผู้อื่น ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ลอกเรียนแบบ ลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการออกแบบ โดยมีคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รบมอบหมาย ตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
      บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนองานออกแบบ รายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาและมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบตกแต่งการจัดวางเครื่องเรือน โดยนำมาสรุปและนำเสนอโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem-based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 การทำงานในห้องแต่ละสัปดาห์
2.3.2 การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
2.3.3 ประเมินผลผลงานรายงานนำเสนอในชั้นเรียน
2.3.4 ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
3.1.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานที่ใช้ข้อมูลทางการออกแบบตกแต่งภายใน อาคาร บ้านพักอาศัย เพื่อการวิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ไขปัญหาทั้งส่วนงานและระบบที่มีความจำเป็นต่ออาคารบ้านพักอาศัย และการนำเสนอผลงานผ่านทักษะกระบวนการทางการปฏิบัติออกแบบตกแต่งภายใน อภิปรายกลุ่มตามโครงงานที่กำหนดทางการออกแบบตกแต่งภายในอาคารบ้านพักอาศัย วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ในการนำความรู้มาถ่ายทอดสู่ผู้เรียนด้วยตัวอย่างผลงานการออกแบบตกแต่งภายใน อาคารบ้านพักอาศัยเป็นกรณีศึกษา การกำหนดบทบาทสมมุติตามโครงงานที่กำหนด
ประเมินผลโครงงาน แนวคิดในการประยุกต์ใช้ความรู้ในงานออกแบบตกแต่งภายในอาคารบ้านพักอาศัย วัดผลจากการประเมินโครงการที่มอบหมาย การนำเสนอผลงาน
        4.1.1 มีภาวะผู้นำ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
          4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
          4.1.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลข้อมูลโครงการออกแบบตกแต่งภายในแต่ละกรณี
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าแนวทางการออกแบบตกแต่งภายในในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตสำหรับงานออกแบบตกแต่งภายในโดย การยกตัวอย่างมาประกอบการเรียนการสอน
4.2.3 การนำเสนอรายงานประกอบโครงการการออกแบบตกแต่งภายใน
4.3.1 ประเมินตัวเองและเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตัวเอง
5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง จากสื่อการสอนประเภทต่างๆ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยผ่านสื่อ ตัวอย่างผลงานการออกแบบตกแต่งภายใน
5.3.1 ประเมินจากความถูกต้อง การอธิบาย และการนำเสนอ
5.3.2 ประเมินจากการวิเคราะห์ทักษะเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 มอบหมายงานคัดลอกรูปแบบการตกแต่งภายในรูปแบบต่างๆ ตามความนิยม
6.2.2 กำหนดโจทย์การปฏิบัติหน้าที่เน้นการออกแบบและเขียนแบบ ในการออกแบบตกแต่งภายใน
6.2.3 ฝึกฝนเทคนิควิธีการต่างๆเพื่อค้นคว้าหาแนวทางการออกแบบและเขียนแบบ ในการออกแบบตกแต่งภายใน
6.2.4 พัฒนาทักษะในการนำเสนองานออกแบบตกแต่งภายใน
6.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายและประมวลผลการค้นคว้าข้อมูล
6.3.2 ประเมินผลจากการที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
6.3.3 ประเมินผลจากคุณภาพของผลงานและภาพรวมการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 BAAID117 ออกแบบตกแต่งภายใน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.3.1 2.3.1 3.3.1 2.3.1 -ทดสอบย่อย ครั้งที่ 1 - สอบกลางภาคเรียน -ทดสอบย่อย ครั้งที่ 2 -สอบปลายภาคเรียน 5 9 13 16 3% 7% 10% 20%
2 2.3.2 1.1.2 -ปฏิบัติงานออกแบบ เขียนแบบรายสัปดาห์ - การส่งงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.1.2 - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
เลอสม สถาปิตานนท์,2540.การออกแบบเบื้องต้น,ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ.
เสาวนิตย์ แสงวิเชียร,2535.ออกแบบตกแต่ง,โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์,กรุงเทพฯ
Francis D.K.Ching.Architecture Form,Spece&Order Third Edition,John Wiley&Sons}Inc.
Stephen Calloway.The Elements of Style,Mitchll Beazley International Ltd.
S.C. Reznikoff.Interior Ghaphic and Design Standard,Whitney Library of Design,New York.
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเอกสารขอความร่วมมือต่อหน่วยงานราชการองค์กรรัฐวิสาหกิจ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดั้งนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
                        2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
                        2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
                        2.3 การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
            หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
                        3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
                        3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
            4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
            4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลราชวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้