ผลิตภัณฑ์งานไม้

Wood Product

ศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร พื้นฐานการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปเครื่องเรือน สิ่งของตกแต่งภายในบ้าน ประกอบด้วย โครงสร้างผลิตภัณฑ์ไม้ และวัสดุอื่นๆ โดยเน้นรูปแบบประโยชน์ใช้สอยและเทคนิค กรรมวิธีการผลิต
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีแนวคิดและกระบวนการออกแบบและพื้นฐานการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปเครื่องเรือน การจัดวางเครื่องเรือน การเลือกใช้สีและวัสดุตกแต่งอาคารและสถานที่
ศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร พื้นฐานการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปเครื่องเรือน สิ่งของตกแต่งภายในบ้าน ประกอบด้วย โครงสร้างผลิตภัณฑ์ไม้ และวัสดุอื่นๆ โดยเน้นรูปแบบประโยชน์ใช้สอยและเทคนิค กรรมวิธีการผลิต
5 ชั่วโมง
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพให้สิทธิของข้อมูลและแนวคิดของผู้อื่น ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ลอกเรียนแบบ ลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการออกแบบ โดยมีคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.3 มีภาวะผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง และลาดับความสาคัญ 1.1.4 เคารพสิทธิ์ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการอกกแบบเครื่องเรือน ระบบติดตั้งกับที่ ต่อบุคคลองค์การและสังคม 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมของนักออกแบบ โดยมีวัตถุประสงค์ไม่ทุจริต หรือปกป้องตัวเอง 1.2.2 อภิปรายกลุ่ม 1.2.3 กาหนดให้นักศึกษาออกแบบและเขียนแบบเครื่องเรือนติดตั้งกับที่ 1.2.4 ให้ทาโครงการกลุ่ม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รบมอบหมาย ตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา 1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.3.3 ประเมินผลงานตามที่ได้รับหอบหมาย 1.3.4 ประเมินผลการนาเสนองานที่มอบหมาย
ความรู้ที่ต้องได้รับ มีความรู้ในหลักการทฤษฎีแนวคิดและกระบวนการออกแบบตกแต่ง การจัดวางเครื่องเรือน การเลือกใช้สีและวัสดุตกแต่งอาคารและสถานที่
บรรยาย อภิปราย การทางานกลุ่ม การนาเสนองานออกแบบ รายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาและมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบตกแต่งการจัดวางเครื่องเรือน โดยนามาสรุปและนาเสนอโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem-based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ตามเกณฑ์,จัดสอบ,เก็บคะแนนงานมอบหมายตลอดภาคเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาแนวทางในการใช้ความรู้ไปใช้ในการออกแบบและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ในแต่ละพื้นที่ของโครงงานที่นักศึกษานามาเป็นกรณีศึกษา ทักษะที่เกิดจากการแก้ปัญหาการปฏิบัติด้านการออกแบบตกแต่งภายใน อาคารบ้านพักอาศัย ให้สามารถนาไปพัฒนาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมตามสภาพเป็นจริง
1.2.1 การมอบหมายให้นักศึกษาทาโครงงานที่ใช้ข้อมูลทางการออกแบบตกแต่งภายใน อาคาร บ้านพักอาศัย เพื่อการวิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ไขปัญหาทั้งส่วนงานและระบบที่มีความจาเป็นต่ออาคารบ้านพักอาศัย และการนาเสนอผลงานผ่านทักษะกระบวนการทางการปฏิบัติออกแบบตกแต่งภายใน 1.2.2 อภิปรายกลุ่มตามโครงงานที่กาหนดทางการออกแบบตกแต่งภายในอาคารบ้านพักอาศัย 1.2.3 วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ในการนาความรู้มาถ่ายทอดสู่ผู้เรียนด้วยตัวอย่างผลงานการออกแบบตกแต่งภายใน อาคารบ้านพักอาศัยเป็นกรณีศึกษา 1.2.4 การกาหนดบทบาทสมมุติตามโครงงานที่กาหนด
1.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้อข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และประเมินผลโครงงาน แนวคิดในการประยุกต์ใช้ความรู้ในงานออกแบบตกแต่งภายในอาคารบ้านพักอาศัย 1.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการที่มอบหมาย การนาเสนอผลงาน 1.3.3 สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมกับการเรียนภายในชั้นเรียน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตัวเอง และมีผู้รับผิดชอบในงานโครงการที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกาหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลข้อมูลโครงการออกแบบตกแต่งภายในบานพักอาศัยแต่ละกรณี 4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าแนวทางการออกแบบตกแต่งภายในในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตสาหรับงานออกแบบตกแต่งภายในโดย การยกตัวอย่างมาประกอบการเรียนการอน 4.2.3 การนาเสนอรายงานประกอบโครงการการออกแบบตกแงภายในอาคารบ้านพักอาศัย
4.3.1 ประเมินตัวเองและเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กาหนด 4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นาเสนอ พฤติกรรมการทางานเป็นทีม 4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตัวเอง
5.1ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าที่ต้องการพัฒนา 5.1.1 ทักษะการคิดคานวณ เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลทางการออกแบบตกแต่งภายในตัวอาคารบ้านพักอาศัย 5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากโครงงานการออกแบบตกแต่งภายในตัวอาคารบ้านพักอาศัย การสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการจัดทารายงานโครงงานการออกแบบตกแต่งภายในและการนาเสนอในชั้นเรียน 5.1.3 พัฒนาทักษะในการสังเคราะห์ข้อมูลจากโครงงานการออกแบบตกแต่งภายในหรือกรณีศึกษา 5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5.1.5 ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร ข้อมูลทางการออกแบบตกแต่งภายใน 5.1.6 ทักษะในการนาเสนอรายงานการค้นคว้าข้อมูลโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง จากสื่อการสอนประเภทต่างๆ และทารายงานโดยเน้นการนาตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.2 นาเสนอโดยผ่านสื่อ ตัวอย่างผลงานการออกแบบตกแต่งภายในอาคารบ้านพักอาศัย
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบต่างๆตามความนิยม 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปรายจากการจัดทารายงาน
6.1ทักษะทางด้านวิชาชีพการออกแบบตกแต่งภายในที่ต้องการพัฒนา 6.1.1 ทักษะในการออกแบบตกแต่งภายในรูปแบบต่างๆตามความนิยม 6.1.2 พัฒนาทักษะในการออกแบบและเขียนแบบ ในการออกแบบตกแต่งภายใน 6.1.3 พัฒนาทักษะในการออกแบบและเขียนแบบ ด้วยเทคนิควิธีการที่มีความหลากหลายในการออกแบบตกแต่งภายในอาคารบ้านพักอาศัย
6.2.1 มอบหมายงานคัดลอกรูปแบบการตกแต่งภายในอาคารบ้านพักอาศัยรูปแบบต่างๆตามความนิยม 6.2.2 กาหนดโจทย์การปฏิบัติหน้าที่เน้นการออกแบบและเขียนแบบ ในการออกแบบตกแต่งภายใน 6.2.3 ฝึกฝนเทคนิควิธีการต่างๆเพื่อค้นคว้าหาแนวทางการออกแบบและเขียนแบบ ในการออกแบบตกแต่งภายใน 6.2.4 พัฒนาทักษะในการนาเสนองานออกแบบตกแต่งภายใน
6.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายและประมวลผลการค้นคว้าข้อมูล 6.3.2 ประเมินผลจากการที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน 6.3.3 ประเมินผลจากคุณภาพของผลงานและภาพรวมการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 43000006 ผลิตภัณฑ์งานไม้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.3.1 2.3.1 3.3.1 2.3.1 - ทดสอบย่อย ครั้งที่ 1 - สอบกลางภาคเรียน - ทดสอบย่อย ครั้งที่ 2 - สอบปลายภาคเรียน 5 9 13 16 3% 7% 10% 20%
2 3.3.1 2.3.1 3.3.1 2.3.1 - ปฎิบัติงานออกแบบ เขียนแบบรายสัปดาห์ - การส่งงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.1.2 - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
ดารงศักดิ์และสุนี เลิศแสวงกิจ. การจัดแสดงสินค้า.พิมพ์ครั้งที่8 กรุงเทพ : วังอักษร.2543 วัฒนะ ฐทะวิภาต.การออกแบบ.กรุงเทพ : บริษัทสามารถมวลชน , 2527 John ; Rober F. , and Allen , Ro9bert Y. Retailing. Prentice Hall Inc. Boston : 1977 สุนี เลิศแสวงกิจและวีนัส อัศวสิทธิถาวร. การจัดแสดงสินค้า. กรุงเทพ : สานักพิมพ์วังอักษร. 2546
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 แตงตั้งกรรมการหรือผู้สังเกตการสอนโดยสาขาวิชา 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดั้งนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ 5.3 เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภายนอกมาสาธิตและร่วมบรรยาย