กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง

Anatomy and Physiology of Domestic Animals

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้ นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถบูรณาการเทคโนโลยีทางสัตวศาสตร์สำหรับปฏิบัติงานด้านการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัยเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ทั้งในฐานะผูประกอบการ นักวิชาการ หรือผู้จัดการฟาร์มมสามารถคิดวิเคราะห์ได้อย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ มีคุณธรรม จริยธรรม สำนึกในจรรยาของวิชาชีพที่ดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบต่อสังคมและเสริมสร้างเอกลักษณ์ไทย

 
          สำหรับวัตถุประสงค์ของรายวิชานี้นั้น นักศึกษาจะได้ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบต่าง ๆ ของร่างกายสัตว์เลี้ยง
 
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงโดยเน้นการนำไปในใช้ในการทำงานอย่างเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานการอุดมศึกษา (2552) และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบต่าง ๆ ของร่างกายสัตว์เลี้ยง
-   จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยเฉพาะในวันพุธ เวลา 15.00 – 16.00 น. ณ ห้องปฏิบัตืการกายวิภาคและสรีรวิยาของสัตว์เลี้ยง เบอร์มือถือ 08-9953-2245
-    นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง e-mail address : wchaine@yahoo.com
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
การสอนในห้องปฏิบัติการ
การสอนแบบบรรยาย
 
 
 
การสังเกต
การสัมภาษณ์
แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การสอนโดยใช้เกม (Games)
การสอนในห้องปฏิบัติการ 
การสอแนบบ  Problem Based Learning
การสอนแบบสาธิต
การสอนแบบบรรยาย  
แฟ้มสะสมงาน
การเขียนบันทึก
โครงการกลุ่ม
การสังเกต
การสัมภาษณ์
การนำเสนองาน
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบปรนัย
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนในห้องปฏิบัติการ  
การสอนแบบบรรยาย 
การสอนแบบโครงการ 
โครงการกลุ่ม
การสังเกต
การนำเสนองาน
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบปรนัย
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การสอนแบบโครงการ
โครงการกลุ่ม
การสังเกต
การสัมภาษณ์
การนำเสนองาน
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
การสอนโดยใช้เกม (Games)
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
การสอนแบบโครงการ 
การนำเสนองาน
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบปรนัย
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1 23022301 กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 6.1, 6.2, 7.1, 7.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค งานมอบหมาย 9 17 38% 32%
2 1.1, 1.2, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 6.1, 6.2, 7.1, 7.2 ทดสอบโดยศึกษาจากอวัยวะ การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1.5 4.2.1,4.2.2,4.2.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
วิโรจน์ จันทรัตน์. 2540. กายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง.มหาวิทยาลัยแม่โจ้. เชียงใหม่. 980 น. พีรศักดิ์ สุทธิโยธิน. 2528. การผสมเทียม. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. หาดใหญ่. 411 น. Bearden, H.J. and J.W. Fuquay. 1980. Applied Animal Reproduction. Reston Publishing Company,
         Inc.,Virginai. 370 p. Bone, J.F. 1988. Animal Anatomy and Physilogy.3rded.Englewood Cliffs, New Jersey. 572 p Buergelt, C.D.1997. Color Atlas of Reproduction Pathology of Domestic Animals. Mosby-Year Book.     Inc. St.Louis, Missouri. 219 p. Currie, W.B. 1987. Structure and Function of Domestic Animals. Butterworths, Boston, 443p Frandson, R.D.1981. Anatomy and physiology of Fram Animals.3rd ed. Lea & Febiger. King, G. J. and W.W. Thatcher.1993. Pregnancy . In Reproducton in Domesticated Animals. Edited by G.   J. King. Elsevier Science Publishers B.V., Amsterdam. 229-270 p McCraken, T. O.R.A. Kainer and T.L. Spurgeon.1999. Spurgeon’s Color Atlas of Large Animal Anatomy. The Essentials. Lippincott William & Wilkins, Philadelphia. 159 p. McDonald, L.E. 1980. Female reproductive system. In : Veterinary Endocrinology and Reproduction. 3rd ed. Lea & Febiger, Philadelphia. 274-329 p. Meijer, J. C. and J. M. Fentener Van Vlissingen. 1993. Gross Structure and Development of Reproductive Organs. In Reproduction in Domesticated Animals. Edited by G. J. King. Elsevier Science Publishers B. V., Amsterdam . 9-53 p.
  Pineda , M.H. 1989. Female Reproductve Systems. In Veterinary Endocrinology and Reproduction . 4 th ed. Edited by L. E. Meconald. Lea & Febiger, Philadelphia. 303 –354 p. Reeves , J. J. 1987. Endocrinology of Reproduction. In Reproduction in Animals . 5 th ed. Edited by E.S.E. Hafez. Lea & Febiger, Philadelphia. 85 – 106 p. Swenson , M.J.1984. Dukes’ physiology of domestic animals.10th ed. Cornell university press. London.922 p. Vander , A,J., J.H. Sherman. and D.S. Luciano.1990. Human physiology: mechanism of body function.5th ed. McGraw-Hill publishing company.New York.724p. William ,O.R. 1991. Physiology of Domestic Animals. Lea & Febiger , Philadelphia . 370 p. Wrobel , K.H. and H.D. Dellmann.1993. Male Reproductive System. In Text book of Veterinary Histology.4 thed. Edited by H.D. Dellmann. Lea & Febiger,Philadelphia.213-232 p.
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน   แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

  ข้อเสนอแนะผ่านการให้คำปรึกษานอกชั้นเรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม