การควบคุมสภาวะแวดล้อมในอาคาร

Environmental Control in Building

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ เข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสถาปัตยกรรม เข้าใจการออกแบบอาคารและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่สามารถควบคุมสภาวะแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม เข้าใจการนำพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ทางสถาปัตยกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อมนุษย์ การออกแบบโดยวิธีธรรมชาติ การพัดผ่านของกระแสลม ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิและความชื้น การนำพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ทางสถาปัตยกรรม เพื่อนำมาออกแบบสถาปัตยกรรมที่มีแนวโน้มของการทันต่อกระแสโลก
ศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสถาปัตยกรรม การออกแบบอาคารและอุปกรณ์ต่างๆ ที่สามารถควบคุมสภาวะแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม และการนำพลังงานจากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ในทางสถาปัตยกรรม
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนในชั่วโมงแรก
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบต่อการศึกษาเรื่องเกี่ยวสิ่งแวดล้อมที่นำมาใช้ในการออกแบบ สถาปัตยกรรม โดยผู้เรียนจะต้องมีวินัย ซื่อตรงต่อเวลา โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรม อภิปรายกลุ่ม (Group Discussion)

กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่าง(Case Study) ที่เกี่ยวข้อง
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.5 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการศึกษาดูงานนอกสถานที่
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย
2.2.2 อภิปราย
2.2.3 ทำเป็นรายงานเป็นรายบุคคล โดยการนำเสนอวิธีคิด การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาตัวอย่างและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
2.3.3 การมีส่วนร่วมในการศึกษาดูงานนอกสถานที่
พัฒนาความสามารถในการนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม เพื่อแสดงออกถึงความเข้าใจในเนื้อหาที่ศึกษา
3.1.1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิขาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำรายงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา โดยนำเสนอด้วยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.3.1 สังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา
3.3.2 สอบกลางภาคและปลายภาค
3.3.2 วัดผลจากการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
4.1.1สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้าการนำพลังงานธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ทางสถาปัตยกรรม
4.2.3 ศึกษาดูงานนอกสถานที่
4.2.4การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.4 ประเมินจากการส่งงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด
5.1.1สามารถสืบค้นศึกษาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สาธารณะที่แนะนำให้ และมีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาได้ถูกต้อง
5.2.2 นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 25% 25%
3 ด้านทักษะทางปัญญา วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การทำงานกลุ่มและผลงานออกแบบการส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การทำงานกลุ่มและผลงาน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 17 10%
[1]กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, แนวทางการ
ประหยัดพลังงานในบ้านอยู่อาศัย, พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
2540.
 
[2]กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ,
การอนุรักษ์พลังงานในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดอุดมศึกษา,
2545.
 
[3]กองพัฒนาพลังงานทดแทน สำนักงานวิจัยและพัฒนาการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย,
พลังงานทดแทน พลังงานแห่งอนาคต, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ, 2546.
 
[4]จุไรพร ตุมพสุวรรณ, พฤติกรรมการถ่ายเทความร้อนผ่านวัสดุมุงหลังคาบ้านพักอาศัยในเขต
ร้อนชื้น,วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาคาร ภาควิชาสถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.
 
[5]จุไรพร ตุมพสุวรรณ, รายงานประกอบวิชาสัมมนาเทคโนโลยีอาคาร, ภาควิชาเทคโนโลยีอาคาร
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
 
[6]ตรึงใจ บูรณสมภพ, การออกแบบอาคารที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน, พิมพ์ครั้งที่ 1,กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทร์พริ้นติงแอนด์พับลิชชิง จำกัด(มหาชน) , 2539.
 
[7]ธนิต จินดาวณิค, สถาปัตยกรรมและเทคโนโลยี, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
กรุงเทพมหานคร, 2540.
 
[8]ปรีชญา มหัทธนทวี ดร., การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน:
สร้างสรรค์อาคารสบาย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปภัมภ์, 2547.
 
[9]พรรณชลัท สุริโยธิน, คมกฤช ชูเกียรติมั่น, อุษณีย์ มิ่งวิมล, การวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศเพื่อนำไปใช้ในการออกแบบอาคาร: สาระศาสตร์สถาปัตย์, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
 
[10]พัทธวดี รุ่งโรจน์ดี,ผลกระทบของรูปทรงและคุณสมบัติการสะท้อนของแสงธรรมชาติภายใน
เอเทรียมสำหรับภูมิอากาศเขตร้อนชื้น,วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาคาร ภาควิชาสถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
 
[11]มาลินี ศรีสุวรรณ รศ., การศึกษาความสัมพันธ์ของทิศทางกระแสลมกับการเจาะช่องเปิดที่
ผนังอาคารสำหรับภูมิอากาศร้อนชื้นในประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ :J. Print, 2543.
 
[12]วิเชียร สุวรรณรัตน์ ผศ, ภูมิอากาศวิทยาและการออกแบบสถาปัตยกรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพ,
2531.
 
[13]ศิริชัย หงษ์วิทยากร,ประวัติศาสตร์ภูมิสถาปัตยกรรม,เอกสารคำสอน,2542
 
[14]สมสิทธิ์ นิตยะ รศ., การออกแบบอาคารสำหรับภูมิอากาศเขตร้อนชื้น, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
 
[15]สุนทร บุญญาธิการ, เทคนิคการออกแบบบ้านประหยัดพลังงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า,
พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
 
[16]สุนทร บุญญาธิการ, ธนิต จินดาวณิค,รายงานผลวิจัย การวิเคราะห์สภาวะน่าสบายและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องของอาคารสถาปัตยกรรมไทย, รายงานผลวิจัยจากทุนวิจัยรัชดาภิเษกสมโภช. กรุงเทพ, 2536.
 
[17]สุนทร บุญญาธิการ ศ., บ้านชีวาทิตย์ บ้านพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อคุณภาพชีวิตผลิตพลังงาน,
พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
 
[18]สุนทร บุญญาธิการ ศ. ดร.,บทสรุป:สร้างสรรค์อาคารสบาย, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, 2547.
 
[19]สุนทร บุญญาธิการ รศ.ดร.,ภาพรวมการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน เอกสารประกอบการสัมนา โครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี การออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน , สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น
-สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน,การประหยัดพลังงานเครื่องปรับอากาศ (ออนไลน์). สืบค้นจาก:http://www.med.cmu.ac.th/energy/How 2 Air.html. (วันที่สืบค้น : 28 มกราคม 2549).
 
-สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน,การประหยัดพลังงานหลอดไฟฟ้า (ออนไลน์). สืบค้นจาก
:http://www 2.dede.go.th/new-homesafe/webban/book/lamp.html. (วันที่สืบค้น : 10 มกราคม 2549).
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านห้องสนทนา ที่อาจารย์ผู้สอนได้แนะนำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การศึกษาดูงานนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เรียนเชิญอาจารย์ผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือประสบการณ์การทำงานของวิทยากร