การจัดการการค้าปลีก

Retailing Management

1. ทราบถึงความหมาย วัตถุประสงค์ ความสำคัญของการจัดการการค้าปลีก
2. เข้าใจถึงปัจจัยประเภทต่างๆ และหลักเกณฑ์ในการค้าปลีก
3. เข้าใจการบริหารการค้าปลีก
4. เข้าใจการเลือกทำเลที่ตั้ง การจัดรูปองค์กร การดำเนินงาน การส่งเสริมการขาย การกำหนดราคา และเทคนิคการขาย
5. ทราบถึงเทคโนโลยีที่มีความทันสมัย และเหมาะสมกับการค้าปลีก
เพื่อพัฒนารายวิชา ให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์การค้าปลีกในปัจจุบัน
ศึกษาความหมาย วัตถุประสงค์ ความสำคัญของการจัดการการค้าปลีก ปัจจัยประเภทต่างๆ และหลักเกณฑ์ในการค้าปลีก การบริหารการค้าปลีก ทำเลที่ตั้ง การจัดรูปองค์กร การดำเนินงาน การส่งเสริมการขาย การกำหนดราคา และเทคนิคการขาย พร้อมทั้งเทคโนโลยีที่มีความทันสมัย และเหมาะสมกับการค้าปลีก
Meaning the importance of retail sales management factors. Various categories and criteria for retail. Management of retail locations reformatting the operating operating organization for the promotion. Pricing and sales techniques. The technology has advanced and suitable for retail.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (ตามแต่ที่นักศึกษาต้องการ)
2.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 
2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
—1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
™3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของ รายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ ในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้าน ทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
™1. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ
™2. ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
™3. ประเมินจากการเข้าเรียนตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2.2 ความรู้
2.2.1  ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
—1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญใน เนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนา ความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
™2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย ความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและ การดำรงชีวิตประจำวัน
2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของ รายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ ในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้าน ทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
™1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
™2. รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
™3. ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง
™4. ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
™5. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
™6. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
™7. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
2.3 ทักษะทางปัญญา 
2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
™1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จาก หลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์ แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
—2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจาก ทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือก ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขัน ทางธุรกิจ
2.3.2  กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 
™3)  การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 
™4)  การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 
2.3.3  กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 
ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา และประเมินจาก การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และ วิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมา คำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา รวมถึงประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
2.4  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
—1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความ รับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้ง สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิง วิชาชีพได้
™2. มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไข ปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน ประเด็นที่เหมาะสม
2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
™2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำ และผู้ตาม
™3. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการ อภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
™4. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายใน สถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา
™5. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
2.4.3  กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
™1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค
™2. ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
™3. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
™4. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
2.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
—2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของ สื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้ง ในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
™3. สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.5.2   กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
™1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร 
™2. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 
™3. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 
™4. ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 
™5. บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟท์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้    
          2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
™1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค
™2. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการน าเสนอด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
™3. ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
™4. ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงาน/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่ง ได้รับมอบหมายร่วมกัน
2.6 ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ   
2.6.1 ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
—1. สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
2.6.2   กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมือ อาชีพ (Hands-on)
™1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง หรือ   สถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2.6.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
™1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และ ความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
™2. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
™4. การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆ เพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 ,2.1 , 3.2, 5.2 , 6.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค งานระหว่างเรียน สัปดาห์ที่ 1-7 และ 9-15 70%
2 2.1 , 3.2 , 4.1 การเข้าชั้นเรียน งานที่มอบหมาย สัปดาห์ที่ 1-15 20%
3 2.3 , 4.2 การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การเข้าร่วมกิจกรรมตามที่กำหนดในหลักสูตร สัปดาห์ที่ 1-15 10%
ตำรา การบริหารการค้าปลีก (MK314) ของ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
-สุพรรณี อินทร์แก้ว 2558. การบริหารการค้าปลีก พิมพ์ครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ : ธนาเพรส
-ผศ.วารุณี ตันติวงศ์วาณิช. 2555. ธุรกิจการค้าปลีก พิมพ์ครั้งที่ 2. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
-ฐายิกา กสิวิทย์อำนวย.2561.การบริหารธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่.บริษัทมหาชนจำกัด ซีเอ็ดยูเคชั่น.
-
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินผู้สอน
รอผลประเมินจากผู้เรียน และผู้ทวนสอบผลการเรียนรู้
    ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
   จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ท่านอื่นๆ