ทฤษฎีสี

Theory of Color

1.  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแม่สี  สีผสม วงจรสี วรรณะของสี ค่าน้ำหนักของสี กลุ่มสี สีคู่ปฏิปักษ์ หลักการใช้สี และจิตวิทยาสี  
2. เสริมสร้างเจตคติผู้เรียน  ผ่านประสบการณ์เพื่อเกิดประโยชน์สอดคล้องกับสถานการณ์ของการศึกษาเรียนรู้ในปัจจุบัน  3.  ตระหนักและเห็นคุณค่าในการใช้สีสร้างสรรค์ผลงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้  ความเข้าใจในการใช้สี  เป็นพื้นฐานในการเรียนในวิชาศิลปะอื่นๆที่เกี่ยวข้องและเพื่อให้นักศึกษาตระหนักและเห็นคุณค่านำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน  สอดคล้องกับความก้าวหน้าตามยุคสมัย 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติทฤษฎีเกี่ยวกับความสำคัญและคุณค่าของสี หลักการใช้ทฤษฎีสีในงานศิลปะ ทดลองปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการใช้ทฤษฎีสีในการนำมาใช้สร้างสรรค์ผลงาน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1.1มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด  1.2.2 เน้นเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องความระเบียบข้อบังคับ  ของมหาวิทยาลัย
1.3.1   การขานชื่อ และการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา  1.3.2   พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้  1.3.3   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
2.1.1  มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีสีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1  ใช้การสอนหลายรูปแบบโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  ใช้หลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้  โดยใช้รูปแบบการสอนคือ แบบการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative) และการสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ 
  2.2.2  มอบหมายให้ทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียนและรวบรวมงานปฏิบัติในรูปแบบแฟ้มสะสมงานส่งปลายเทอม    2.2.3  มอบหมายงานกลุ่มโดยใช้หลักการทางทฤษฎีสีในการปฏิบัติตามหัวข้อหรือประเด็น  ที่กำหนด พร้อมทั้งนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.1   ประเมินจากการสอบกลางภาคเรียน การสอบปลายภาคเรียน ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2.3.2   ประเมินจากผลการปฎิบัติงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์  2.3.3   ประเมินจากการค้นคว้าข้อมูลในการทำรายงาน  การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 
   3.2.1   ส่งเสริมการเรียนรู้จากการสะท้อนความคิดและการประพฤติปฏิบัติ     3.3.2   มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์     3.2.3   ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง  แลกเปลี่ยนเรียนรู้  รายงานหน้าชั้นเรียน     3.2.4   การศึกษา ค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1   ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา  การค้นคว้ารายงานและการนำเสนอผลงาน  3.3.2   ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1   มีความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม  4.1.2   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่างผลงาน  4.2.2  มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล  4.2.3   การนำเสนอผลงานหลังจากฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องกับทฤษฎีที่ได้ศึกษา
4.3.1   ประเมินจากการายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา  4.3.2   ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษาและประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่น่าเชื่อถือด้วยตนเอง และนำเสนอหน้าชั้นเรียน  5.2.2   การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.1   ประเมินจากการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีอภิปราย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.2.1 การสั่งงานปฏิบัติตามหัวข้อ
6.3.1  การตรวจประเมินผลงานตามหัวข้อที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA102 ทฤษฎีสี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 15 % 15 %
2 2.1.1 3.1.1 4.1.1-4.1.2 5.1.1-5.1.2 การนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล การทำรายงาน การนำเสนอหน้าชั้นเรียน การคิดวิเคราะห์ การแก้ไขปัญหา การส่งงานตามที่มอบหมายในแต่ละสัปดาห์ และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน การทำงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน การทำรายงงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1.1 การขานชื่อ การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา การแต่งกาย และปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
ทวีเดช จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์, 2536.  เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. เอกสารประกอบการสอนองค์ประกอบศิลป์ 1 ชศป. 2004. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง, 2540.  ธวัชชัย  ศรีสุเทพ. ชุดสีโดนใจ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2554.  ฟาบรี, ราล์ฟ.  ทฤษฏีสี. แปลโดยสมเกียรติ ตั้งนโม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2536.  วิรุณ ตั้งเจริญ.  ทฤษฏีสีเพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะ. หนังสือชุด 60 ปี อารี สุทธิพันธุ์ 2534. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2535.  สกนธ์ ภู่งามดี. การออกแบบและผลิตงานโฆษณา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แซทโฟร์ พริ้นติ้ง, 2546  เสน่ห์  ธนารัตน์สฤษดิ์.  ทฤษฎีสีภาคปฎิบัติ.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, มปป.  เอกเทพ  ภักดีศิริมงคล. Hot  Hit  Web  Design & Art.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สวัสดี  ไอที, 2550     Chijiwa,H. Color harmony. Massachusetts: Rockport Publisher,1987.  Faber, B. Creative color. United States of America: Schiffer Publishing, 1987.  Gillow, J and Sentence, B. World textile: A visual guide to traditional techniques. . London: Thames & Hudson, 2000.  Hardy, A. Art deco textiles: The French designers. London: Thames & Hudson, 2003.  Heathcote, E. Cinema builders. Great Britain: Wiley-Academy, 2001.  Henderson, J. Casino design: Resorts, hotels, and themed entertainment spaces. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.)  Hill, T, The watercolorist’s complete guide to color. Ohio: North light book Press, 1992.  Joyce,C. Textile design. New York: Watson-Guptill Publications, 1993.  Levine, M. Colors for living: Living rooms. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.)  San Pietro, S. and Brabzaglia, C. Discorddesign in Italy. Milano: Edizioni l’archivolto, 2001.  Sawahata, L. Color harmony workbook. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.)
พรเทพ  เลิศเทวศิริ.  Image Scale. เอกสารประกอบการสอนสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2550.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับทฤษฎีสี  เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการใช้สีในงานทัศนศิลป์ และงานออกแบบ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน Social Network ที่ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.2   อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนท้ายชั่วโมง  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
   4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร     4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่  มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ