ชลศาสตร์

Hydraulics

 เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายคุณสมบัติของของไหลสถิต จลน์ศาสตร์ของการไหล  สามารถคำนวณสมการการไหลต่อเนื่อง  สมการพลังงานของการไหลแบบคงที่โมเมนตัมและแรงเนื่องจากการไหล  สามารถวิเคราะห์เชิงมิติ ความคล้ายคลึง การไหลของของไหลแบบอัดตัวไม่ได้ในท่อ  และการไหลในทางน้ำเปิด  เข้าใจหลักการวัดค่าจากการไหล การไหลไม่คงที่ของของไหล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้   ความเข้าใจในการคุณสมบัติของของไหล สมการที่เกี่ยวข้องกับการไหล เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของของไหลสถิต จลน์ศาสตร์ของการไหล  สมการการไหลต่อเนื่อง  สมการพลังงานของการไหลแบบคงที่โมเมนตัมและแรงเนื่องจากการไหล  การวิเคราะห์เชิงมิติและความคล้ายคลึง การไหลของของไหลแบบอัดตัวไม่ได้ในท่อ  การไหลในทางน้ำเปิด  การวัดค่าจากการไหล การไหลไม่คงที่ของของไหล
6 ชั่วโมง
ความมีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1    ให้ความสำคัญในเรื่องการมีวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนดอาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อการมีวินัย ตรงต่อเวลา และอธิบายระเบียบการเข้าชั้นเรียน  1.2.2    ปลูกฝังเรื่องความชื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1    ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาภายในห้องเรียน และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ   1.3.2    การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา  1.3.3    สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่าต่อเนื่อง  1.3.4    ประเมินจากเนื้อหาของแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน(มีการลอกกันไหม)
คุณสมบัติของของไหลสถิต จลน์ศาสตร์ของการไหล  สามารถคำนวณสมการการไหลต่อเนื่อง  สมการพลังงานของการไหลแบบคงที่โมเมนตัมและแรงเนื่องจากการไหล  สามารถวิเคราะห์เชิงมิติ ความคล้ายคลึง การไหลของของไหลแบบอัดตัวไม่ได้ในท่อ  และการไหลในทางน้ำเปิด  เข้าใจหลักการวัดค่าจากการไหล การไหลไม่คงที่ของของไหล
1    สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามเนื้อหาวิชา ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ  2    อธิบายความเชื่อมโยงของเนื้อหาในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง  3    อธิบายและยกตัวอย่างการประยุกต์แก้ปัญหา  4    มอบหมายงาน
1    สอบย่อย สอบข้อเขียน ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค  2    ประเมินผลงานที่มอบหมายจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
สามารถคิด วิเคราะห์ สรุปประเด็นปัญหาในด้านกลศาสตร์อย่างมีวิจารณญาณที่ดี และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยต้นเอง
จัดกิจกรรมการวิเคราะห์และแก้ปัญหากรณีศึกษาเกี่ยวกับงานทางด้านด้านชลศาสตร์ที่เป็นชิ้นงานจริง แล้วให้นักศึกษาร่วมกันอภิปราย
ประเมินจากการอภิปราย สรุปประเด็นปัญหา และกระบวนการแก้ไขปัญหา
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนารู้จักบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมและทำรายงานกลุ่ม
ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
รู้จักบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมและทำรายงานกลุ่ม
ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณ และเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อช่วยในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาทางด้านด้านชลศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตั้งโจทย์ปัญหาที่ต้องใช้ระเบียบวิธีการคำนวณเชิงตัวเลขในการแก้ปัญหา
ประเมินจากการหาคาตอบโดยวิธีการคำนวณ และวิธีการใช้เครื่องคำนวณหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้าน 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 4.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว และส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ 4.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม 5.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิตประยุกต์ ต่อ การแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 5.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGCV601 ชลศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
เอกสารประกอบการสอน ชลศาสตร์ ผู้แต่ง ดร.มงคลกร ศรีวิชัย  ชื่อหนังสือ : ชลศาสตร์  ผู้แต่ง : รศ.กีรติ  ลีวัจนกุล
ชื่อหนังสือ : ชลศาสตร์  ผู้แต่ง : รศ.ดร.สายสุนีย์ พุทธาคุณเจริญ  ชื่อหนังสือ “ชลศาสตร์” ผู้แต่ง : รศ.พิชัย  บุญยะกาญจน  ชื่อหนังสือ :  Fluid Mechanics  ผู้แต่ง : Frank M. White
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  - แบบประเมินรายวิชา
- ผลการสอบ  - แบบประเมินผู้สอน
- มีการเพิ่มกิจกรรมกลุ่ม การสร้างเรือลอยน้ำ เรื่องแรงลอยตัวและเสถียรภ่พการลอยตัวของวัตถุ
  - การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์  - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน