หลักสถิติเบื้องต้น

Principle of Statistics

1.1  ทราบความหมายของสถิติ
1.2  เข้าใจระเบียบวิธีการทางสถิติ
1.3  เข้าใจเกี่ยวกับการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
1.4  เข้าใจเกี่ยวกับการวัดการกระจาย
1.5  เข้าใจเกี่ยวกับคะแนนมาตรฐาน
1.6  เข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ใต้โค้งปกติและการประยุกต์
1.7  เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัยต่างๆ
1.8  ประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
สิ่งที่มีการปรับปรุง

ด้านการเรียนการสอน

จากข้อเสนอแนะของนักศึกษา  ในรายงานผลการดำเนินงานรายวิชา (มคอ.5) ของภาค
การศึกษาก่อนหน้า  นักศึกษาต้องการให้มีการเรียนการสอนที่หลากหลายนอกจากการสอนโดยใช้กระดาน  จึงได้มีการวางแผนการสอนให้นักศึกษามีกิจกรรมระหว่างการเรียนการสอนมากขึ้น

ด้านเนื้อหา

จากข้อเสนอแนะของนักศึกษา  ในรายงานผลการดำเนินงานรายวิชา (มคอ.5) ของภาค
การศึกษาก่อนหน้า  นักศึกษาต้องการให้ยกตัวอย่างของเนื้อหาที่เรียนที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันและวิชาชีพมากขึ้น  จึงได้เพิ่มตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันและวิชาชีพในหัวข้อต่างๆ
ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของสถิติ  ระเบียบวิธีการทางสถิติ  การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง  การวัดการกระจาย  คะแนนมาตรฐาน  พื้นที่ใต้โค้งปกติและการประยุกต์
ให้คำปรึกษาผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น line  facebook 
ให้คำปรึกษาเวลา 15.00 - 16.30 น. ของทุกวัน 
1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม
1.1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1  ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยในตนเอง ในการเข้าชั้นเรียน และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา  ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และบอกระเบียบในการสอบ
1.2.2  ปลูกฝังให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ  โดยการบอกระเบียบการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
1.2.3  ปลูกฝังให้นักศึกษามีสัมมาคารวะให้เคารพอาจารย์  เจ้าหน้าที่  รุ่นพี่ ตลอดจนให้เกียรติเพื่อนร่วมชั้นและร่วมสถาบันการศึกษา
1.3.1  สังเกตพฤติกรรมการแต่งกาย  และการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา
1.3.2  การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.3.3  สังเกตพฤติกรรมการกิจกรรมร่วมกับเพื่อนในห้องเรียน
1.3.4  สังเกตพฤติกรรมการสอบแต่ละครั้ง
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของสถิติ  ระเบียบวิธีการทางสถิติ  การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง  การวัดการกระจาย  คะแนนมาตรฐาน พื้นที่ใต้โค้งปกติและการประยุกต์
2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1  อธิบาย ยกตัวอย่าง ทำแบบฝึกหัด โดยใช้การสอนแบบบรรยายประกอบกับการตั้งคำถาม
2.2.2  เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม ตั้งโจทย์ ตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เรียนในชั้นเรียน
2.2.3  มอบหมายให้ทำงาน  ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม  พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
2.2.4  เชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 
2.3.2   พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
2.3.3  สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของนักศึกษา
3.1.1  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1  ยกตัวอย่างสถานการณ์ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เกี่ยวกับการใช้ความรู้ในเรื่องที่เรียนมาแก้ปัญหา
3.2.2  ยกตัวอย่างปัญหาที่หลากหลายให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะในเรื่องที่เรียน
3.3.1  ทำแบบฝึกหัด / สอบข้อเขียน
3.3.2  สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในการเสนอความคิดเห็นในการแก้ปัญหาด้วยวิธีอื่นๆ ที่ใช้ความรู้ในเรื่องที่เรียนมาแก้ปัญหา
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1   แนะนำการมีมนุยสัมพันธ์และมารยาทสังคม โดยเน้นในห้องเรียนและการอยู่ร่วมกันในมหาวิทยาลัย
4.2.2   ให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน แล้วออกมานำเสนอ
 4.2.3   ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่ได้รับ เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.3.1   สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.2  ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
4.3.3   ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มและสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในการนำเสนอและตอบคำถาม
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   ให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.2   มอบหมายงานให้ค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.3   มอบหมายงานให้ค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง
5.3.1   พิจารณาจากผลงาน / งานที่มอบหมาย
5.3.2   พิจารณาจากนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 22000011 หลักสถิติเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4 4.1.1, 5.1.1, 5.1.2 คุณธรรม จริยธรรม - การเข้าชั้นเรียน - การส่งงานตรงเวลา - การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
2 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2 การทดสอบ -การทดสอบย่อย -สอบกลางภาคเรียน -สอบปลายภาคเรียน -การทดสอบย่อย -สอบกลางภาคเรียน สัปดาห์ที่ 9 -สอบปลายภาคเรียน สัปดาห์ที่ 17 -การทดสอบย่อย 30% -สอบกลางภาคเรียน 25% -สอบปลายภาคเรียน 25%
3 1.1.3, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3 ความรับผิดชอบในการเรียน - การเข้าชั้นเรียน - การส่งงานที่มอบหมาย - การทำงานร่วมกับผู้อื่น - การมีส่วนร่วมในการเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
4 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 รายงานที่ได้รับมอบหมาย - การค้นคว้าและการแก้ปัญหาในการทำรายงาน - การนำเสนอ 1,8,12 และ17 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาหลักสถิติเบื้องต้น
 
แผนกคณิตศาสตร์. 2558. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสถิติ.  แผนกคณิตศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตร.
กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์. 2559. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตร.
ชัชวาล  เรืองประพันธ์ (2544). สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น : ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประไพศรี  สุทัศน์ ณ อยุธยา และ พงศ์ชนัน  เหลืองไพบูลย์ (2549). สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด กรุงเทพฯ.
สายชล  สินสมบูรณ์ทอง (2550).สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติประยุกต์  คณะวิทยาศาสตร์  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
เอกสาร / ตำรา / หนังสือ / แหล่งออนไลน์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถิติ
 
 
 
-  การสังเกตความสนใจของผู้เรียนขณะทำการสอน
-  แบบประเมินผู้สอนผ่านเว็บมหาวิทยาลัย
-  ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะ
-  จำนวนหรือร้อยละของผู้เข้าเรียนแต่ละคาบและการสังเกตพฤติกรรม
-  ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
-  การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
-  แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
-  การทำวิจัยในชั้นเรียน
-  การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
-  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตรวจสอบ ข้อสอบ
-  ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
                -  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
            -  นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา
            -  วางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดรายวิชาให้ทันสมัย หรือตามข้อเสนอแนะ