เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

Pre-press Technology

1. รู้และเข้าใจวิวัฒนาการ กระบวนการผลิตงานก่อนพิมพ์ การผลิตน้ำหนักสีสำหรับงานก่อนพิมพ์ การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ การจัดวางหน้าสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยระบบดิจิตอล ตลอดจนการตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์ปรู๊ฟ การทำแม่พิมพ์ในระบบต่างๆ ให้ได้ตามมาตรฐานงานดิจิตอล
2. มีทักษะในการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยระบบดิจิตอล
3. มีทักษะในการทำแม่พิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์ต่างๆ และสามารถตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์ปรู๊ฟด้วยระบบดิจิตอล
4. มีทักษะในการวิเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพขั้นตอนต่างๆ ในงานก่อนพิมพ์
5. เห็นความสำคัญและมีจรรยาบรรณในวิชาชีพทางด้านเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
1. วิธีการสอนที่เน้นการให้นักศึกษาประยุกต์องค์ความรู้ทางด้านทฤษฏีผสมผสานร่วมกับทักษะปฏิบัติด้วยตนเองอย่างแท้จริง และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องตามหลักทางวิชาการ
          2. การนำตัวอย่างชิ้นงานสำเร็จมาประกอบการเรียนการสอนเพื่อสร้างความเข้าใจในเนื้อหานั้นๆ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ วิวัฒนาการ กระบวนการทำงานก่อนการผลิตสิ่งพิมพ์ด้วยระบบดิจิทัล การผลิตน้ำหนักสี จัดวางหน้าด้วยโปรแกรม ตรวจสอบการทำปรู๊ฟ การทำแม่พิมพ์ และการควบคุมคุณภาพงานก่อนพิมพ์ด้วยมาตรฐานการพิมพ์
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา  ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน

           2.   สอดแทรกความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพและสอนให้นักศึกษามีระเบียบวินัย รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
               2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการผลิตงานก่อนพิมพ์  การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ การจัดวางหน้าสื่อสิ่งพิมพ์ การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพงานก่อนพิมพ์ให้ได้ตามมาตรฐาน
           2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีด้านก่อนพิมพ์ที่ทันสมัย
1. บรรยายและอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนโดยเน้นหลักการทางทฤษฏีและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
           2. นักศึกษาฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
           3. การทำงานกลุ่มและเดี่ยว ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและรายงาน
           4. การศึกษาดูงานจริงในสถานประกอบการ
1. การทดสอบย่อย
           2. การสอบกลางภาคและปลายภาค
           3. ประเมินจากรายงานนักศึกษาและการนำเสนองานในชั้นเรียน
           4. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
1. การมอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานจริง
           2. นักศึกษาสามารถรวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลที่เกิดขึ้นระหว่างการทำงาน จากนั้นนำมาอภิปรายร่วมกันภายในห้องเรียน
1. ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน
           2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน
1. สามารทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
           2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. สอดแทรกให้นักศึกษาสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในการทำงานกลุ่มร่วมกันระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ผู้สอน ตลอดจนการยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างของแต่ละคนในชั้นเรียน
           2. ฝึกให้นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีร่วมกันในชั้นเรียน
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานและรายงานหน้าชั้นเรียน
           2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม

2. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
1. บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียน
           2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์
1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
           2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
 
1. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
           2. มีทักษะในการทำตามแบบและปฎิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
1. บรรยาย สาธิตวิธีการปฏิบัติงาน
           2. ดูแล ให้คำแนะนำ ปรึกษาขณะนักศึกษาปฏิบัติงาน
           3. นักศึกษาสรุปผลและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน
           2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ
           3. เสร็จตรงตามกำหนดเวลา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการผลิตงานก่อนพิมพ์ การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ การจัดวางหน้าสื่อสิ่งพิมพ์ การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพงานก่อนพิมพ์ให้ได้ตามมาตรฐาน 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีด้านก่อนพิมพ์ที่ทันสมัย 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 1. สามารทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 2. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 1. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 2. มีทักษะในการทำตามแบบและปฎิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
1 BTEPP127 เทคโนโลยีก่อนพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
2 ความรู้ ความรู้ 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคและปลายภาค 3. ประเมินจากรายงานนักศึกษาและการนำเสนองานในชั้นเรียน 4. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ 9, 18 30%
3 ทักษะทางปัญญา 1. ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน 2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 25%
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานและรายงานหน้าชั้นเรียน 2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม 2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 ทักษะพิสัย 1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน 2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ 3. เสร็จตรงตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 30%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนเป็นหลัก
          1. สุณี  ภู่สีม่วง, วรรณา  สนั่นพาณิชกุล, ผกามาศ ผจญแกล้ว และคณะ. เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7 (ฉบับปรุบปรุงครั้งที่ 1). พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540 ปรังปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2549. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
          2. สุณี  ภู่สีม่วง, วรรณา  สนั่นพาณิชกุล, ผกามาศ ผจญแกล้ว และคณะ. เอกสารการสอนชุดวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ หน่วยที่ 8-11. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540 ปรังปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2549. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
          3. สุณี  ภู่สีม่วง, แววบุญ  แย้มแสงขันธ์, ทัศนีย์  ลิ้มสุวรรณ และคณะ. เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 8-15. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
 
 
-
-
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
2.1   การสังเกตการณ์สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   การศึกษาดูงานจริงในสถานประกอบการ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ