เรื่องเฉพาะทางเทคโนโลยีการเกษตร 3

Selected Topics in Agricultural Technology 3

1. มีความรู้และความเข้าใจในระบบภูมิคุ้มกันสัตว์น้ำ 
2. มีความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติเกี่ยวกับการเพิ่มภูมิคุ้มกันในสัตว์น้ำ
3. มีทักษะในการปฏิบัติเกี่ยวกับการเพิ่มภูมิคุ้มกันในสัตว์น้ำ
4. มีความรู้และสามารถวิเคราะห์เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันในสัตว์น้ำจากบทความวิชาการทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัยได้
5. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนในสัตว์น้ำ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะด้านภูมิคุ้มกันในสัตว์น้ำที่ทันสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติทำการทดลองในหัวข้อหรือเรื่องที่น่าสนใจด้านเทคโนโลยีเกษตรที่เป็นความรู้หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ หัวข้อเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละภาคการศึกษา
3
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต  1.2 มีวินัยขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม  1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ  1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้   1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
2. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด 
3. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 
2. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา 
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง 
2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม 
2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ 
2.5 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา 
2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง 
3. กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่
1. ทดสอบย่อย  
2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 
3. ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ 
3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ยกตัวอย่างที่เหมาะสมในระหว่างการบรรยาย 
2. กำหนดหัวข้อและมอบหมายงานให้นักศึกษาไปศึกษาแล้วกลับมานำเสนอ
1. ทดสอบย่อย 
2. การนำเสนองาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี 
4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง 
4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ 
4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานที่ต้องประสานเพื่อนำโจทย์จากชุมชนเข้ามาเป็นประเด็นการศึกษา
ประเมินจากการนำเสนองาน
5.1 มีทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ 
5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1.ใช้ Power point นำเสนอข้อมูลที่ค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต 
2.แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล 
3.มอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3
1 MSCGT503 เรื่องเฉพาะทางเทคโนโลยีการเกษตร 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1-2.4, 3.1, และ 3.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9 และ 17 ร้อยละ 40
2 4.1-4.5, 5.1- 5.3 1. ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย 2. ประเมินจากการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 50
3 1.1-1.6 การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
สุทธิพันธ์ สาระสมบัติ, วิบูลย์ศรี พิมลพันธุ์ และนภาธร บานชื่น. 2537. อิมมูโนวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4. บริษัท เค.พี พริ้นติ้ง จำกัด. กรุงเทพฯ
สันนิภา สุรทัตต์. 2553. วิทยาภูมิคุ้มกันทางสัตวแพทย์ภาคปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. บริษัท โอเมก้า พริ้นติ้ง จำกัด กรุงเทพฯ
นิวัตร จันทร์ศิริพรชัย และ วิษณุ วรรณแสวง. 2552. ระบภูมิคุ้มกันและการแปลผลซีรัมในสัตว์ปีก โรงพิมพ์ตรีรณสาร กรุงเทพฯ
Uribe, C., Folch, H., Enriquez, R., Moran, G. 2011. Innate and adaptive immunity in teleost fish: a review. Veterinarni Medicina, 56(10): 486–503.
วารสารออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์จากฐานข้อมูล ScienceDirect Springerlink
1.1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์ 
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา 
3.2 จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอ
มีการตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทุกปีการศึกษา
นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป