เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร

Information Technology for Agriculture

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้

รู้ถึงความสำคัญความรู้พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร  รู้และสามารถค้นคว้าหาข้อมูลได้จากแหล่งข้อมูลและการสืบค้นข่าวสารสนเทศทางการเกษตร สามารถใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและข้อมูลภูมิสารสนเทศทางการเกษตร (GIS) ปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปภูมิสารสนเทศและสามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ทางการเกษตร
เนื่องจากวิชานี้ ถือว่าเป็นวิชาเรียนที่มีการเรียนที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ซึ่งปัจจุบันนี้ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมีการพัฒนาที่รวดเร็วมาก ดังนั้นการเรียนการสอนในวิชานี้จึงจำเป็นยิ่งที่ต้องมีการปรับปรุงเนื้อหาการเรียนการสอนให้ทันสมัยและก้าวตามทันเทคโนโลยีที่รวดเร็วได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะมีผลงานวิจัยที่ใหม่ๆ อยู่อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา จึงมีความจำเป็นยิ่งที่ต้องพัฒนาหลักสูตรรายวิชานี้ให้ทันกับเทคโนโลยีที่มีพลวัตตลอดเวลา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร แหล่งข้อมูลและการสืบค้นข่าวสารสนเทศทางการเกษตร และข้อมูลภูมิสารสนเทศทางการเกษตร (GIS) รวมทั้งการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ทางการเกษตร
3.1 วันพุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เวลา 13.00 - 16.30 น. ห้อง 09-101 /โทร. 054-342547-8 ต่อ 249, 082-694 7417
          3.2 e-mail; phuping.s@gmail.com เวลา 06.00 – 24.00 น. ทุกวัน
          3.3 ปรึกษาผ่านเฟสกลุ่มปิด 2561-2 ITA ตลอดเวลาทุกวัน
1.1.2 มีวินัยต่อการเรียน ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.2.1 การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
1.2.2 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1.3.1 การเขียนบันทึก
1.3.2 การสังเกต
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 งานที่ได้มอบหมาย
2.2.1 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
2.2.2 การสอนในห้องปฏิบัติการ  
2.2.3 การสอนแบบสาธิต  
2.3.1 งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.3.2 การสังเกต
2.3.3 การนำเสนองาน
2.3.4 การฝึกตีความ
2.3.5 ข้อสอบอัตนัย/ข้อสอบปรนัย
2.3.6 แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.1.3
3.2.1 การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3.2.2 การสอนแบบฝึกภาคสนาม  
3.3.1 การสังเกต
3.3.2 การนำเสนองาน
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 การสอนแบบการตั้งคำถาม
4.2.2 การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4.2.3 การสอนแบบฝึกภาคสนาม  
4.3.1 การสังเกต
4.3.2 การประเมินตนเอง
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.2.1 ใช้ Power point
5.2.2 มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.2.3 การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
5.2.4 การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.5 การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
5.3.1 การสังเกต
5.3.2 .แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
5.3.3 การประเมินตนเอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 6. ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 งานที่ได้มอบหมาย 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 3.3 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 BSCAG005 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 (1.1,1.2,1.3) 2 (2.1, 2.2,2.3,2.4) 3 (3.1) การทดสอบย่อย (Quiz) ครั้งที่ 1 การสอบกลางภาค การทดสอบย่อย (Quiz) ครั้งที่ 2 การสอบปลายภาค 4 9 13 17 5% 15% 5% 15%
2 1 (1.1,1.2,1.3) 2 (2.1, 2.2,2.3,2.4) 4 (4.1,4.2,4.3) วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1 (1.1,1.2,1.3) 3 (3.1) การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน). 2552. ตำราเทคโนโลยีอวกาศ
      และภูมิสารสนเทศศาสตร์. พิมพ์ที่บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
      กรุงเทพฯ. 331 หน้า
ชฎา ณรงคฤทธิ์. 2547. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม. ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและ
      สิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร.
      พิษณุโลก. 315 หน้า
ไม่มี
http://www.gistda.or.th/main/
http://www.scitu.net/
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอน ทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินฯ ของรายวิชาไม่น้อยกว่า 25% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
 
การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา:  สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าภาควิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป