การเตรียมโครงงานออกแบบเครื่องเรือน

Pre-Furniture Design Project

1.1  มีวินัย ตรงต่อเวลา
1.2  มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาทางการทำโครงงาน และสามารถค้นคว้าหาข้อมูล นำหลักการ ทฤษฏี ความรู้อื่นๆ เข้ามาสร้างแนวทางและแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
1.3  สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยง  และทำความเข้าใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยบูรณาการความรู้ในหลายๆด้าน มาสังเคราะห์แนวคิด เพื่อสร้างสรรค์ตามกระบวนการจัดทำโครงงาน โดยมีกระบวนการทางความคิดและการทำงานอย่างเป็นระบบ
1.4  มีทักษะทางการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอโครงงาน ทั้งการพูด การเขียน และการใช้สื่ออื่นๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
1.5 สามารถหาหัวข้อโครงการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการดำเนินงานได้
เพื่อให้กระบวนการเรียนการสอนมีความชัดเจน ครอบคลุมและสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับการเตรียมงานโครงการ จุดประสงค์ การกำหนดเป้าหมาย ขอบเขตการวางแผนการดำเนินงานโครงการ หลักการเขียนโครงงาน ตลอดจนการประเมินโครงงานเบื้องต้น ขั้นตอนและระเบียบการเสนอหัวข้อโครงการออกแบบและพัฒนาเครื่องเรือน การหาหัวข้อโครงการ การนำเสนอโครงการ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยให้นักศึกษานัดเวลาล่วงหน้า
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3  มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา  และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม  และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 ให้ความสำคัญต่อความรับผิดชอบในการเข้าเรียน เช็คชื่อและมีการให้คะแนนในส่วนของการเข้าเรียนครบและตรงต่อเวลา
1.2.2 ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัย เคารพ กฎ ระเบียบและข้อบังคับของสถานศึกษา กล่าวชมเชยนักศึกษาที่แต่งกายถูกระเบียบ
1.2.3 สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การเสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต การรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม รวมถึงการมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.3.1   ประเมินจากการเข้าเรียนทุกครั้ง
1.3.2   ประเมินจากพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาที่เข้าเรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย หลักการและทฤษฎีที่สำคัญในการทำโครงงาน
2.2.2 สอดแทรกความรู้ในสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวเนื่องและศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 วิธีการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีการสอนแบบตั้งคำถาม(Questioning-Based)
2.2.4 มอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูลและความรู้อื่นๆเพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำโครงงาน
2.3.1 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
2.3.2 ประเมินจากข้อมูลในการทำโครงร่างโครงงานและการอ้างอิงที่มาของข้อมูล
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   วิธีการสอนแบบตั้งคำถาม(Questioning-Based)
3.2.2   มอบหมายให้จัดทำโครงร่างโครงงานออกแบบเครื่องเรือน
3.3.1   ประเมินจากการตอบคำถาม และการแสดงความคิดเห็น
3.3.2   ประเมินจากโครงร่างโครงงานออกแบบเครื่องเรือน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2  มอบหมายงานรายบุคคล แนะนำการเตรียมตัวในการติดต่อขอความอนุเคราะห์ขอข้อมูลในการทำโครงงาน
4.2.3  การนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงาน
4.3.2  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2  สามารถสืบค้น  ศึกษา  วิเคราะห์  และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1  ตรวจสอบความถูกต้องของแนวคิด และวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้พื้นฐานความรู้ที่เรียนมา
5.3.2  จากผลการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.3  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.4  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 สามารถออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
6.1.2 สามารถสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
6.1.3 สามารถออกแบบโดยใช้ทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
มอบหมายให้นักศึกษาเตรียมหัวข้อโครงการเพื่อนำเสนอโครงการงานออกแบบเครื่องเรือน ตามกระบวนการ
โดยประเมินจากผลงานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย ตามกระบวนการของโครงการเตรียมและนำเสนอโครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 43022452 การเตรียมโครงงานออกแบบเครื่องเรือน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1 การเข้าชั้นเรียน, การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 5 %, 5 %
2 2.1.1 2.1.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ข้อมูลในการทำโครงร่างโครงการออกแบบเครื่องเรือนและการอ้างอิงที่มาของข้อมูล 8, 17, 5-7, 9-16 20 %, 20 %, 10 %
3 3.1.1 3.1.2 การตอบคำถาม และการแสดงความคิดเห็น โครงร่างโครงการออกแบบเครื่องเรือน 1-7, 9-16 10 %, 20 %
4 5.1.1 ความสามารถในการนำเสนอโครงงาน 4 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาโครงงาน
-
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์. [ม.ป.ป.]. คู่มือเรียบเรียงวิทยานิพนธ์.กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
จันทนี เพชรานนท์.[ม.ป.ป.]. การทำรายละเอียดประกอบโครงการการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [ม.ป.ป.]. การค้นคว้าการเขียนรายงาน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์.
ทิศนา แขมมณี. 2540. การวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นพดล สหัสชัยเสรี. [ม.ป.ป.]. บทความหลักการวิจัย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน  คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
บุญชม ศรีสะอาด. 2545. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ:  สุรีวิยาสาส์น.
บุญธรรม  กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2540. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่7. กรุงเทพฯ : สามเจริญพานิช
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2553 . คู่มือการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัยและวิทยานิพนธ์. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สรชัย พิศาลบุตร. 2547. วิจัย...ใครว่ายาก. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. 2546. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์.พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา การสะท้อนคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   ประเมินผลจากพฤติกรรมการเรียนและผลการสอบของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   สรุปประเด็นปัญหาที่พบเพื่อปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน
3.3   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ