ออกแบบเครื่องเรือน 5

Furniture Design 5

รู้ เข้าใจและมีทักษะการออกแบบเครื่องเรือนประเภทถอดประกอบ ประเภทพับและประเภทซ้อน  โดยคำนึงถึงความคิดสร้างสรรค์ ประโยชน์ใช้สอย อุปกรณ์กลไก กรรมวิธีถอดประกอบ พับและซ้อน  วัสดุและโครงสร้าง กรรมวิธีการผลิต ตกแต่งผิวขั้นสำเร็จ  การแสดงแบบเครื่องเรือน การทำหุ่นจำลองและต้นแบบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะการออกแบบเครื่องเรือนประเภทถอดประกอบ ประเภทพับและประเภทซ้อน  เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในการออกแบบเครื่องเรือนในระบบอุตสาหกรรม  เพื่อเป็นแนวทางการเรียนในรายวิชาโครงงานที่เกี่ยวข้อง ของหลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต
ศึกษาและฝึกปฏิบัติทฤษฎีของการเขียนแบบมาตรฐานสากลของการเขียนแบบเครื่องเรือน การ        เขียนแบบชิ้นส่วนประกอบต่างๆ และการเขียนแบบเพื่อการผลิตในระบบอุตสาหกรรม
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ -
      (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ เคารพในสิทธิของข้อมูลจากแหล่งที่ข้อมูล โดยอ้างอิงถึงผู้เขียน หรือ ภาพถ่ายที่นำมารายงาน

  มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และจริยธรรม   มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ   มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและสิ่งแวดล้อม   เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างสอดแทรกจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และ จริยธรรม บรรยายพร้อมยกตัวอย่างสอดแทรกจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มอบหมายรายงาน, งานเดี่ยว, งานกลุ่ม ฝึกการมีวินัย ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและ สังคมและสิ่งแวดล้อม บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา กำหนดให้นักศึกษาหาเสนอเอกสารอ้างอิง แหล่งข้อมูลต่างๆ ที่นำมา รายงานจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สืบค้น  และ การนำข้อมูลมาเผยแพร่ การอ้างอิงถึงที่มา
1.3.1   ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2   ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3   ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
          2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
        2.1.2   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
        2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลงาน และ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเขียนแบบและ การออกแบบ
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่ความเข้าใจกระบวนการออกแบบเครื่องเรือนแบบติดตั้งถาวร
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กิจกรรม ถาม-ตอบ สมาชิกในห้อง
2.3.3  ประเมินจากการงานในชั่วโมงที่ให้ฝึกปฏิบัติ ขั้นตอนกระบวนการคิดและแก้ไขปัญหา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ รู้จักการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   มีการมอบงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และ ให้นำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อประกอบ แนวคิดในการออกแบบงานในแต่ละสัปดาห์
3.2.2  มอบหมายงานเดี่ยวในชั่วโมง ฝึกปฏิบัติด้านการออกแบบเครื่องเรือนประเภทติดตั้งถาวร  แนวความคิดและขั้นตอนการออกแบบ  กระบวนการออกแบบ  เขียนแบบ    โดยคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย   การจัดวางตำแหน่ง  เนื้อที่  สัดส่วน  ความงาม  วัสดุ  โครงสร้าง  กรรมวิธีการผลิต
3.3.1   ผลงานของนักศึกษาในรายสัปดาห์
3.3.2   สอบกลางภาคและปลายภาค 
3.3.3   วัดผลจากการประเมิน การนำเสนองานที่มอบหมายให้ความถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบ
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมถาม - ตอบ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในห้อง
4.1.1   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1  มอบหมายงานกลุ่ม ให้ทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อศึกษาข้อมูลวิเคราะห์วางแผนร่วมกันเป็นทีม
4.2.2   กำหนดให้มีการเก็บข้อมูลต้องประสาน ระหว่างบุคคล
4.2.3   กำหนดประเด็นปัญหา ให้นำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมายให้  
4.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกำหนดเวลา
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง งานที่มอบหมายให้ โดยเน้นความถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบให้หาจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
    6.1.1.  สามารถออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
    6.1.2.  สารารถสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
    6.1.3.  สามารถออกแบบโดยใช้ทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
มอบงานทุกสัปดาห์ให้นักศึกษาฝึกทักษะด้านเขียนแบบและออกแบบเครื่องเรือนประเภทติดตั้งถาวร  แนวความคิด  ขั้นตอนการออกแบบ   ประโยชน์ใช้สอย   การจัดวางตำแหน่งของเครื่องเรือนที่สัมพันธ์กับการใช้เนื้อที่  สัดส่วนของเครื่องเรือนกับการใช้งานของมนุษย์  วัสดุ อุปกรณ์ และโครงสร้าง  กรรมวิธีการผลิต การตกแต่งผิว การแสดงแบบเครื่องเรือน การทำหุ่นจำลอง และต้นแบบ
6.3.1   ผลงานของนักศึกษาในรายสัปดาห์
6.3.2   สอบกลางภาคและปลายภาค 
6.3.3   วัดผลจากการประเมิน การนำเสนองานที่มอบหมายให้ ความ ถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบ
6.3.3   สังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมถาม - ตอบ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในห้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 43022451 ออกแบบเครื่องเรือน 5
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 17 15%, 15%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 การปฏิบัติงานและผลงาน โครงงาน (Project-Based Learning) ตลอดภาคการศึกษา, ปลายภาคการศึกษา 40%, 20%
3 1.3.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. เจ.ดับบลิว  เกียไชโน, เอช.เจ.บูเ คมา ,สุรศักดิ์   พูลชัยนาวาสกุล, พงษ์ธร  จรัญญากรณ์. เขียนแบบเทคนิค. กรุงเทพฯ: เอช.เอ็น.กรุ๊ป จำกัด, 2536
2. รองศาสตราจารย์อุดมศักดิ์   สาริบุตร.เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ : เอ็ม เอ เอช พริ้นติ้ง, 2549.
3. อุดมศักดิ์   สาริบุตร.ออกแบบเฟอร์นิเจอร์. งานตำราและเอกสารการพิมพ์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
4. สาคร  คันธโชติ. การออกแบบเครื่องเรือน.กรุงเทพฯ : O.S Printing   House  Co., Ltd , 2528.
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรรณี  สหสมโชค.ออกแบบเฟอร์นิเจอร์.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.,2549.
6. David  L. Goetsch ,john A. Nelson. TECHNICAL   DRAWING  AND  DESIGN. Delmar  Publishers  Ine.1986.
7. JOSEPH  De CHIARA ,JULIUS  PANERO, MARTIN  ZELHIK.TIME-SAVER  STANDARDS  FOR  INTERIOR  DESIGN  AND  SPACE  PLANNINE. International  Editions,1992
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้

ประชุมร่วมกันเพื่อหาแนวทางการจัดการเรียนการสอน สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์