ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน

English for Airline Business

1.1 เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับศัพท์ สำนวน ภาษาอังกฤษด้านธุรกิจสายการบิน 
1.2 เพื่อฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับลักษณะงานต่างๆ ด้านธุรกิจสายการบิน
1.3 เพื่อแยก จำแนกวิเคราะห์ สถานการณ์ต่างๆ ด้านธุรกิจสายการบินด้วยกิจกรรม 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ที่ทันสมัยมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบอาชีพด้านธุรกิจสายการบินได้อย่างดี อีกทั้งเพื่อสร้างเสริมสติปัญญาในเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิจารณ์ได้อย่างเป็นระบบโดยกิจกรรมสมมุติ โดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ๆ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเรียนรู้เกี่ยวกับศัพท์ สำนวน และการฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับงานธุรกิจการบิน จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน
Study and practice English vocabulary, expressions, and language skills used in airline business and activities.
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
1.1.2 มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
 
1.2.1 สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
1.2.2 จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
1.2.3 ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลาการส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.3.1  การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
1.3.2 การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลาตลอดจนการแต่ง กายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.3.3 การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม 
1.3.4 ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
2.1.1  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.3 มีความรู้และเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผน การจัดการปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่หลากหลาย 
2.2.1 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2.2.2 การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ 
2.3.1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.2.2 รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
2.2.3 ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาคเช่นการบ้านงานที่มอบหมายรายงานการทดสอบย่อยการนำเสนอรายงานการค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
3.1.3  สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้และประสบการณ์ มาใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคม
3.2.1 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบจากกรณีศึกษา 
3.2.2 การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียนและมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
3.3.2 การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและสื่อสารในบริบทต่าง ๆ
3.3.3 การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง 
4.1.4  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 
4.1.5  สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
4.2.1  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
4.2.2 จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
4.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
4.3.1 พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 
4.3.2 พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
4.3.3 พฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
 
 
 
6.1.1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
6.1.2  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
6.1.4  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
6.2.1 จัดกิจกรรมที่สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในชั้นเรียน
6.2.2 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้กับนักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติจริง
 
6.3.1 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 6. ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5
1 BOAEC135 ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น 2. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม การเข้าเรียนการแต่งกายการส่งงาน การเข้าร่วมกิจกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม ความเอื้อเฟื้อ และความรับผิดชอบในหน้าที่ พฤติกรรมการทำกิจกรรมจิตอาสา ทุกสัปดาห์ 10%
2 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 3. มีความรู้และเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผน การจัดการปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่หลากหลาย 1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2. รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ 3. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาคเช่นการบ้านงานที่มอบหมาย รายงานการทดสอบย่อยการนำเสนอรายงานการค้นคว้าหน้าชั้นเรียน 8, 16 40%
3 3. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้และประสบการณ์ มาใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคม 1. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา 2. การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและสื่อสารในบริบทต่าง ๆ 3. การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง ช่วงสัปดาห์ 2 – 15 30
4 4. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5. สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 2. พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา 3. พฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี 16 10%
5
6 1. สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 2. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 4. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ 3, 6, 12, 15 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน
Emery, Henry and Roberts, Andy. 2008. Aviation.  Macmillan Publishers Limited.
2.          Parasakul, Lertporn. 2010. English in Airline Business. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
3.          Sakchuen, Nattakarn.  2007. English for ground and in-flight attendants. Bangkok: Kasetsart University Press.
4.          เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาเช่น
              http://www.eslflow.com/Tourismlessons.html
              http://www.btinternet.com/~ted.power/games.htm#g15
              http://nhd.heinle.com/crosswords/airport_print.html
              http://www.flightattendantcareer.com/faq.htm
              http://www.saberingles.com.ar/lists/airport.html
              http://www.newscientist.com/topic/aviation
            http://www.teacherjoe.us/TravelAirport.html
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินรายวิชา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1. ประชุมชี้แจงแก้ไขปัญหาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
2. คำร้องเรียนของนักศึกษาที่ได้เรียนในรายวิชามาก่อน
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1. ปรับปรุงการเรียนการสอนตามข้อเสนอแนะหัวหน้า และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อปรับปรุง พัฒนา อาจารย์ ให้มีความรู้หลากหลาย และนักศึกษามีการปรับความคิดเห็นในแต่ละวิชาของอาจารย์ผู้สอนใหม่ หรือประสบการณ์ของอาจารย์