การอ่านเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์

Critical and Analytical Reading

- รู้คำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างพื้นฐานทางภาษาที่ซับซ้อนมากขึ้น
     - เข้าใจกลวิธีการเรียนภาษาอังกฤษ
     - พัฒนาทักษะการอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ
     - มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาอังกฤษ
- เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน และ การเขียน
- นำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์งานอาชีพ
- ตระหนักในความสำคัญของการนำภาษาอังกฤษไปใช้ในการประกอบอาชีพ
- เพื่อให้สามารถใช้ภาษาตะวันตกเป็นเครื่องมือในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้มีความรู้ความสามารถเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ
- เพื่อให้สามารถใช้ภาษาตะวันตกที่เรียนเป็นเครื่องมือศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
- เพื่อพัฒนากิจนิสัยในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง
      - เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อภาษาตะวันตก
       ศึกษาการอ่านเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ ประเมินค่า การวิจารณ์เรื่องที่อ่านโดยการอภิปราย หรือเขียนแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง และแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา

 
1.1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึก
สาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
1.1.2  มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
1.1.3   มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.4  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.5 [¡] มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
  1.1.6  [·] สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม จริยธรรม ให้ความสำคัญกับวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดโดยทำข้อตกลงร่วมกับนักศึกษา

ใช้การมอบหมายภาระงานเป็นรายบุคคลและกิจกรรมกลุ่ม
1.3.1   สังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมของนักศึกษาขณะเรียน ทำกิจกรรมในห้องเรียน และกิจกรรมกลุ่ม
1.3.2    ให้คะแนนการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
 
            2.1.1  [·] มีความรู้และเข้าใจหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
          2.1.2  [·] มีความรู้และเข้าใจในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน สามารถนำความรู้ และทักษะมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันได้
           2.1.3  มีความรู้และเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผน การจัด การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่หลากหลาย
          2.1.4  มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น
          2.1.5  สามารถวิเคราะห์ และนำข้อมูลมาปรับปรุงและ/หรือประเมินตามสถานการณ์
ที่เกิดขึ้น
          2.1.6  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
          2.1.7  รู้ เข้าใจ และสนใจที่จะพัฒนาความรู้ ความชำนาญในการใช้ภาษาอย่างต่อเนื่อง
2.1.8  มีความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษา พร้อมทั้งเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา
    2.1.9  มีประสบการณ์เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้า และ/หรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาใช้ในงานได้จริง
2.2.1 ศึกษาความรู้จากเนื้อหาในบทเรียนต่างๆ แล้วทำกิจกรรมประกอบเนื้อหาตามที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 มอบหมายงานให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าและนำเสนอ
2.2.3 ให้แบบฝึกหัดเพื่อให้นักศึกษาฝึกฝนโดยเน้นหลักทฤษฎีและปฏิบัติ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2   ประเมินจากงานที่มอบหมาย และการนำเสนอผลงาน โดยประเมินด้วย Rubrics
 
 3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
                    สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ สามารถประเมินข้อมูลแนวคิดและ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย ใช้ข้อมูลที่ได้มาประยุกต์ใช้ รวมถึงนำมาแก้ไขปัญหาอื่นๆ ได้ด้วยตนเอง และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
                   3.1.1  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินข้อมูลจากหลายแหล่ง    เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม
                   3.1.2  สามารถวิเคราะห์ผลกระทบรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
                   3.1.3 [¡] สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้และประสบการณ์ มาใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคม
                     3.1.4 [·] สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการได้
                   3.1.5  สามารถศึกษา ค้นคว้า ประยุกต์ความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
3.2.1   การมอบหมายให้นักศึกษาทำงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และวิจารณ์โดยจำลองสถานการณ์ที่ต้องใช้ความสามารถและความรู้จากรายวิชาเป็นรายบุคคล
        3.2.2   ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่มย่อย เพื่อเสนอแนะวิธีการอ่านเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ ประเมินและแสดงความคิดเห็นต่อบทความที่อ่านอย่างมีเหตุผล ตลอดจนนำเสนอข้อมูลในรูปของการอภิปราย หรือการเขียนด้วยภาษาอังกฤษ ที่เหมาะสมตามเรื่องหรือบทความที่กำหนดในกรณีศึกษา จากนั้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน
3.3.1   สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 
3.3.2   ประเมินจากงานที่มอบหมายด้วย Rubrics
3.3.3   ประเมินจากผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา ตามสถานการณ์ที่กำหนด
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
   นักศึกษาสามารถแสดงออกซึ่งภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตาม มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งพัฒนาตนเอง ดังนั้นนักศึกษาต้องรู้จักการวางตัว การมีมารยาทในการเข้าสังคม และทักษะ    ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ดังนี้
             4.1.1  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม  มีความรับผิดชอบ  ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
             4.1.2  มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม การแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม 
             4.1.3  มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
             4.1.4 [¡] มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
             4.1.5  สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
             4.1.6  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
                   4.1.7  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.2.1   ใช้วิธีการสอนแบบกลุ่ม โดยเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็นเพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
ด้วยเหตุผล และฝึกการแสดงความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์
4.3.1   ประเมินจากผลงานด้วย Rubrics
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
         นักศึกษาสามารถศึกษาและทำความเข้าใจ สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการศึกษาค้นคว้า และเสนอแนะ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมาย และนำเสนอข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุนี้ ผู้สอนต้องใช้เทคโนโลยีในการสอนเพื่อฝึกให้นักศึกษามีคุณสมบัติ ดังนี้
                   5.1.1  สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจในเรื่องทีศึกษา
                   5.1.2  สามารถอธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม  มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
                   5.1.3  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                   5.1.4  มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
                   5.1.5  สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อเรื่องศึกษาอย่างสร้างสรรค์
                   5.1.6  สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้ในการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
* ไม่มีจุดเน้น
       5.2.1 ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
5.3.1   ประเมินจากผลงาน โดยเน้นที่การใช้สื่อเทคโนโลยีในการค้นคว้าและนำเสนอ
6.1  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
                   6.1.1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
                     6.1.2  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
                     6.1.3  สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรม
ได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต
                     6.1.4  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
                              6.1.5  สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
 
* ไม่มีจุดเน้น
-
                   6.2.1  สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
                     6.2.2  จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง      
                     6.2.3  สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน
-
           6.3.1  งานที่ได้รับมอบหมายผลงาน หรือการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพของนักศึกษา
                   6.3.2  พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะในการปฏิบัติงานนวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 13031227 การอ่านเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1..5 1.1.6 2.1.1 2.1.2 3.1.4 4.1.4 ประเมินจากชิ้นงานการเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ การอภิปรายร่วมกัน และการนำเสนอและยอมรับความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 35
2 1.1.4 1.1.5 2.1.2 3.1.4 ประเมินจากการร่วมกิจกรรมกลุ่ม ประเมินตามสภาพจริงในการแสดงความคิดเห็นจากการอ่านงานเขียน วิเคราะห์วิจารณ์ในบริบทต่างๆของสังคม ทำชิ้นงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15
3 1.1.5 1.1.6 สังเกตพฤติกรรมในการเข้าชั้นเรียนและการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ตลอดภาคเรียน 10
4 2.1.1 2.2.2 3.1.4 การสอบกลางภาค ปลายภาค 9 และ 18 สอบมิดเทอม 20 ปลายภาค 20
เอกสารประกอบการเรียน Power Point ใบงานและแบบฝึกหัด
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  เอกสารการสอนชุดวิชาการอ่านภาษาอังกฤษ.  พิมพ์ครั้งที่ 11. พ.ศ. 2538.


การอ่านเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ด้านหลักสูตรและการสอน (Critical Reading in Curriculum and Instruction)
การประเมินผลของรายวิชาโดยนักศึกษากระทำโดย
1) การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
2) ให้นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
1) สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
2) สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน
3) ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา
4) ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
1) ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับกับระดับของผู้เรียน
            2) สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียน และปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
3) สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้ง เพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อ ๆ ไป
           ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม โดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้า หรือไม่มีการพัฒนา จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบายทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้น หรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
1) ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียนตามที่ได้ทดสอบไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรก
          2) มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ ๆ และความน่าสนใจ
          3) ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลาย และสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียน ตามที่ได้สำรวจไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรก
          4) ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษา และของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี