การออกแบบวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร

Agricultural Engineering Machinery Design

1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเกษตร                
2. บอกสมบัติของวัสดุได้                
3. สามารถออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลอย่างง่ายได้
 เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับหลักการออกแบบ ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเกษตร สมบัติของวัสดุ การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลอย่างง่าย ความเค้น ชนิดต่างๆ และทฤษฎีความเสียหาย ความเค้นหนาแน่นและความล้าจากแรงกระทำการออกแบบ ชิ้นส่วนประกอบเครื่องจักรกลเกษตร
 ศึกษาเกี่ยวกับหลักการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเกษตร สมบัติของวัสดุ การออกแบบ ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลอย่างง่าย ความเค้นชนิดต่างๆ และทฤษฎีความเสียหาย ความเค้นหนาแน่นและ ความล้าจากแรงกระท า การออกแบบชิ้นส่วนประกอบเครื่องจักรกลเกษตร Study of Principles of agricultural machine parts design; properties of materials; design of simple machine elements; different types of stress and theories of failure; stress concentrations and fatigue loading; design of component parts of agricultural 
-
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อ เวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง กรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทาง จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานในโรงงาน โดยมี วัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจาก มิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
2 อภิปรายกลุ่มและฝึกปฏิบัติงานจริง 
3 ก าหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือก าหนดบทบาท สมมุติ 
1. ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตาม ขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและ เหมาะสม
3   ประเมินผลการวิเคราะห์ กรณีศึกษา
4   ประเมินผลการนำเสนอ รายงานที่มอบหมาย
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้ง ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติใน เนื้อหาที่ศึกษา  
2 สามารถติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการและ เทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  
3 สามารถวัดและประเมินผล ด้านการเรียนรู้ 
บรรยาย  อภิปราย การ ทำงานกลุ่ม  ทั้งด้านทฤษฎีและ ปฏิบัติ  และมอบหมายให้ค้นหา บทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ฝึกปฏิบัติงานจริงตามหน่วยเรียน โดยนำมาสรุปและนำเสนอและ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 1  สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้น การวัดหลักการและทฤษฎี
 2  ประเมินจากการน าเสนองาน ในการฝึกปฏิบัติงานในแต่ละหน่วย เรียน
1. มีทักษะปฏิบัติจากการ ประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ
2 มีทักษะในการน าความรู้มา คิดและใช้อย่างมีระบบ
1 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติงาน ในพื้นที่จริง ตามหัวข้องานในแต่ละ หน่วยเรียน และการน าเสนอผลงาน
2  อภิปรายกลุ่ม
1.สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
2 วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน 
1  มีมนุษยสัมพันธ์และ มารยาทสังคมที่ดี
2  มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3 สามารถท างานเป็นทีมและ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่าง เหมาะสม
4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์ มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่ เหมาะส
1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการ วิเคราะห์กรณีศึกษา
2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล  
3   การนำเสนอรายงาน 
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2 ประเมินจากรายงานที่น าเสนอ พฤติกรรมการท างานเป็นทีม
3 ประเมินจากรายงานการศึกษา ด้วยตนเอง  
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและ เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม  
3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
1  มอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อ การสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลขหรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2   นำเสนอโดยรูปแบบและ เทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และ รูปแบบการน าเสนอด้วยสื่อ เทคโนโลยี
2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมใน การอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 2 1 2
1 24012315 การออกแบบวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 16 10
•Shigley’sMechanical Engineering Design, Richard G. Budynas, J. Keith Nisbett, Mc GrawHill  9th Edition  
•Machine Design, Robert L. Norton, Prentice Hall, Second or Third Edition  
•Machine Elements in Mechanical Design, Robert L. Mott, Pearson Prentice Hall
•Mechanical Design, An Integrated Approach, AnselC UGURAL, McGraw Hill
•Machine Component Design, Robert C. Juvinall, Kurt M. Marshek, Wile
-
-
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา 
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
3.1   เพิ่มแนวทางการวิเคราะห์ปัญหาที่ทันต่อเทคโนโลยี และปัญหาที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจ าหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับ ปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ