การจัดการตราสินค้า

Brand Management

เพื่อให้นักศึกษาทราบ ความหมายของคุณค่าโดยรวมของตราสินค้า และองค์ประกอบของคุณค่า
โดยรวมของตราสินค้า (การรับรู้ในตราสินค้า ภาพพจน์ของตราสินค้า ความภักดีต่อตราสินค้า) การวัดมูลค่าของคุณค่าโดยรวมของตราสินค้า การกำหนดกลยุทธ์ และการวางแผนทางการตลาด ส่วนประสมทางการตลาด เพื่อสร้างคุณค่าโดยรวมของตราสินค้า
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในตราสินค้า รวมถึงความหมาย องค์ประกอบของคุณค่าโดยรวม
ของตราสินค้า การวัดมูลค่าของคุณค่าโดยรวมของตราสินค้า การกำหนดกลยุทธ์ และการวางแผนทางการตลาด ส่วนประสมทางการตลาด เพื่อสร้างคุณค่าโดยรวมของตราสินค้า
ศึกษาความหมายของความหมายของคุณค่าโดยรวมของตราสินค้า และองค์ประกอบของคุณค่า
โดยรวมของตราสินค้า (การรับรู้ในตราสินค้า ภาพพจน์ของตราสินค้า ความภักดีต่อตราสินค้า) การวัดมูลค่าของคุณค่าโดยรวมของตราสินค้า การกำหนดกลยุทธ์ และการวางแผนทางการตลาด ส่วนประสมทางการตลาด เพื่อสร้างคุณค่าโดยรวมของตราสินค้า
จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา 16.00-17.00 น.
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)
    1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเอง และผู้อื่น ไม่เรารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
    1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
    1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวคิดพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน
    1.4 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
    1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
1. อาจารย์ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง (Role Model)
2. การเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา Case Study
3. การเรียนรู้โดยการใช้สื่อ Media Learning
4. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem Based Learning
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
    2.2 มีความรู้และความเข้าใจใน
สาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์กรและทรัพยากรมนุษย์   
    2.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การปฏิบัติการ การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน
    2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่ากัน
1. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem Based Learning
2. การเรียนรู้โดยใช้รายงาน Project Based Learning
3. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ Performance Based Learning
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
3. ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
3. ทักษะทางปัญญา
    3.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารยุคใหม่ๆ
    3.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม
   


    3.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้
    3.4 มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
1. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem Based Learning
2. การเรียนรู้โดยใช้รายงาน Project Based Learning
3. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ Performance Based Learning
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
3. ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
    4.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
    4.3 มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีระบบ
    4.4 มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
1. การเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา Case Study
2. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem Based Learning
3. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ Performance Based Learning
4. การเรียนรู้โดยการใช้สื่อ Media Learning
5. การเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นหลัก Community Based Learning
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
3. ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ
    5.2 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    5.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
    5.4 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง ทั้งในรูแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
    5.5 สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวความคิดที่หลากหลาย
    5.6 ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
   
 
1. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ Performance Based Learning
2. ศึกษาด้วยตนเอง Self Directed Learning
3. การเรียนรู้โดยใช้รายงาน Project Based Learning
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
3. ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7
1 12023415 การจัดการตราสินค้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.1, 3.4, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.4 งานที่ได้รับมอบหมาย 1. การทำรายงาน/งานที่มอบหมาย 2. การท่องศัพท์ทางการตลาด 3. การวิเคราะห์กรณีศึกษา 1-8, 10-16 10% 10% 10%
2 1.1, 1.5 การเข้าชั้นเรียน 1. คะแนนเจตคติ 1-8, 10-16 10%
3 2.1, 2.2, 2.3 การทดสอบ 1. การสอบกลางภาค 2. การสอบปลายภาค 9 17 30% 30%
ศรีกัญญา มงคงศิริ. (2547). Brand Management. กรุงเทพฯ : นิตยสาร Brandage.
ธีรพันธ์ โล่ทองคำ. (2553). เรื่องของแบรนด์. กรุงเทพฯ : ธรู เดอะไลน์ คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด.
Alice M. Tybout and Tim Calkins (2551). การสร้างแบรนด์ของ Kellogg. กรุงเทพฯ :
อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.
http://www.brandage.com/ https://www.marketingoops.com/ http://marketeer.co.th/ วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่างๆ ทางการตลาด และเว็ปไซด์ทางธุรกิจ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น
จากนักศึกษา ได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้

สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อที่คาดหวังจากการเรียนรู้
ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชา ได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย

ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
    จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุง
การสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม

ข้อ 4

เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลาย

มากขึ้น