ภูมิสถาปัตยกรรมขั้นพื้นฐาน

Introduction to Landscape Architecture

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีหลักการและกระบวนการการออกแบบ  ภูมิสถาปัตยกรรม ความรู้ทางพฤษศาสตร์ นิเวศวิทยาสภาพแวดล้อม และวางผังบริเวณ และการจัดองค์ประกอบในงานภูมิสถาปัตยกรรม มีทักษะในการออกแบบเขียนแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมขนาดเล็ก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เตรียมความพร้อมในการนำความรู้ความเข้าใจในงานภูมิสถาปัตยกรรม ที่มีความส้องคล้องกับงานศิลปะ แขนงอื่นๆ ในงานสถาปัตยกรรม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและเทคโนโลยีในสถานการณ์ปัจจุบัน ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ศึกษาทฤษฎีทางพฤกษศาสตร์ การปรับและการทำระดับ การสัญจร การระบายน้ำ องค์ประกอบในการตกแต่งสวนบริเวณรอบอาคาร การทำผังบริเวณ และปฏิบัติการออกแบบและเขียนแบบภูมิทัศน์
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1    อบรมเรื่องคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาก่อนสอนเป็นเวลา  5  นาทีก่อนสอนทุกสัปดาห์ 1.2.2    มอบหมายงานกลุ่มเพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 1.2.3    นำกรณีศึกษาด้านจริยธรรม คุณธรรมมาถ่ายทอด
1.3.1   ประเมินผลจากการส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด 1.3.2  สังเกตความร่วมมือของนักศึกษาในกลุ่มในแต่ละสัปดาห์ 1.3.3  ประเมินจากสภาพภายในห้องเรียนก่อนสอน  และหากนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายให้ดูแล ไม่ปฏิบัติหน้าที่ ผู้สอนจะหักคะแนนจิตพิสัย
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏี และหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้า ทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ฝึกมากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง  
2.2.1  อธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ และวิวัฒนาการการวางผัง การจำแนกพืชตามหลักสรีระวิทยาการขยายพันธุ์พืช ธรรมชาติและนิเวศวิทยา หลักการออกแบบการวางผังการจัดสวนบ้าน 2.2.2  ฝึกวิเคราะห์และจำแนกพืชพรรณ 2.2.3  ฝึกวิเคราะห์ธรรมชาติและนิเวศวิทยา 2.2.4  ฝึกวิเคราะห์การออกแบบผังจัดสวนบ้านและสวนขนาดเล็ก พร้อมนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.1   ตรวจผลงานของนักศึกษาทุกสัปดาห์ด้วยการมีส่วนร่วมของนักศึกษาทุกคนในการช่วยจัดกลุ่มผลงานของเพื่อนในชั้นเรียน 2.3.2  ตรวจให้คะแนนจากผลงานที่ได้จากกลุ่มแล้ว 2.3.3  ประเมินและให้คะแนน การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด 2.3.4  นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาคันคว้า website และนำเสนอ  
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีประสิทธิภาพ  
3.2.1  อธิบายพร้อมยกตัวอย่างการนำความรู้เรื่องการออกแบบผังสวนบ้านประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพ 3.2.2  ฝึกปฏิบัติตามบทเรียนที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์ 3.2.3  ฝึกปฏิบัติให้นักศึกษาออกแบบผังจัดสวนบ้านและงานภูมิสถาปัตยกรรม  
3.3.1   วัดผลจาก งานสอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นปฏิบัติในการจัดองค์ประกอบมูลฐานด้วยหลักการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม
3.3.2   ประเมินผลจากคะแนนเก็บตลอดทุกสัปดาห์
3.3.3  วัดผลและให้คะแนนจากการส่งงานตรงต่อเวลาที่กำหนด
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มารับใช้สังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 พัฒนาทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยการพูดคุยและติดต่อกันในเว็บไซด์  4.2.2 ฝึกให้นักศึกษาเก็บตัวอย่างผลงานและหุ่นนิ่งหลังจากฝึกปฏิบัติแล้วเสร็จ
          4.3.1 ผู้เรียนประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
          4.3.2 ประเมินจากการสังเกตความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในการช่วยเก็บตัวอย่างงานและอุปกรณ์การสอน
          5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ  และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษาะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4 1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏี และหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้า ทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ฝึกมากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มารับใช้สังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2 3
1 42014206 ภูมิสถาปัตยกรรมขั้นพื้นฐาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สรุปทักษะฝีมือ เทคนิคการนำเสนอ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 17 15% 15%
2 พื้นฐานทักษะฝีมือ พัฒนาการด้านทักษะ การทำงานเดี่ยว ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 ความมีระเบียบวินัย ความคิดสร้างสรรค์การสื่อสาร การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
-องค์ประกอบศิลป์ ของชะลูด นิ่มเสมอ
-ออกแบบเบื้องต้น BASIC DESIGN ของ นพวรรณ หมั้นทรัพย์
-พันธุ์ไม้ในงานภูมิสถาปัตยกรรม ของ สมเพียร์ เกษมทรัพย์
-การจัดสวน ของ สมเพียร์ เกษมทรัพย์ 
-ศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้องกับพันธุ์ไม้ทางภูมิสถาปัตยกรรม ดูการตกแต่งสวนขนาดใหญ่เพื่อเป็นแนวทาง
-เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับงานภูมิสถาปัตยกรรม
-ภาพงานภูมิสถาปัตยกรรม
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1    การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2    แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3    ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
   ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
            4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
            4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
  จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
             5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
            5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานของอาจารย์