ภาษาจีนเพื่ออาชีพ

Chinese for Career

1.1 ศึกษาคำศัพท์และสำนวนที่ใช้ในการถามและตอบเกี่ยวกับอาชีพ
1.2 ฝึกการสนทนาเกี่ยวกับสถานที่ทำงานและหน้าที่ในการทำงาน
1.3 สามารถเขียนประวัติส่วนตัวได้
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
 
ศึกษาคำศัพท์และสำนวนที่ใช้ในการถามและตอบเกี่ยวกับอาชีพ การสนทนาเกี่ยวกับสถานที่ทำงานและหน้าที่ในการทำงาน การเขียนประวัติส่วนตัว
3.1 วันอังคาร พุธ พฤหัส เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีน
อาคารเรียนรวม เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ห้อง 14-201
โทร 0-5434-2547 ต่อ 150
3.2 e-mail: kuwenwong@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- บรรยายสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
- ฝึกความรับผิดชอบการทำงานของตัวเองและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน การส่งงานตรงเวลา การเข้าชั้นเรียน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- บรรยาย
- ฝึกปฏิบัติ
- ทำกิจกรรมกลุ่ม
 
การนำเสนอหน้าชั้นเรียน สอบวัดความรู้

แบบฝึกหัด
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- Brainstorming
- Role play
- Cooperative team learning
การนำเสนอหน้าชั้นเรียน

โครงงานและการนำเสนอ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ใช้กิจกรรมกลุ่มและกิจกรรมเพื่อสังคม
การแสดงออกและเข้าร่วมกิจกรรม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่งเสริมให้นักศึกษาใช้ภาษาจีนในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
การนำเสนอผลงานกลุ่ม การแสดงบทบาทสมมติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BOAEC145 ภาษาจีนเพื่ออาชีพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,1.3,1.4, การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ความร่วมมือในชั้นเรียน 1-15 20%
2 2,3 การสอบกลางภาค 10 15%
3 1,2,3,4,5 การนำเสนองาน/การรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 50%
4 2,3 การสอบปลายภาค 18 15 %
- เอกการประกอบการสอน รายวิชาภาษาจีนเพื่อการอาชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
ประจำปีพ.ศ.2562.
- เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ.พจนานุกรม จีน-ไทย.กรุงเทพฯ:รวมสาส์น,2546.
- วรรณิดา ถึงแสง.ไวยากรณ์จีนเบื้องต้น.เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่,2547.
- 商务印书馆辞书研究中心修订(2001)《新华词典》 (2001年修订版) , 北京:商务印书馆.
- 中国社会科学院语言研究所词典编辑室(2002)《现代汉语词典》 (汉英双语) , 北京:外语教学与研究出版社.
-กุลนันท์ แซ่หลี่,และ อัจฉรา.หนังสือคัดอักษรจีน ภาค 1 เล่ม 1.กรุงเทพฯ:เดียร์ เดียร์,2558.
-กุลนันท์ แซ่หลี่,และ อัจฉรา.หนังสือคัดอักษรจีน ภาค 1 เล่ม 2.กรุงเทพฯ:เดียร์ เดียร์,2558.
-กุลนันท์ แซ่หลี่,และ อัจฉรา.หนังสือคัดอักษรจีน ภาค 1 เล่ม 3.กรุงเทพฯ:เดียร์ เดียร์,2558.
-กุลนันท์ แซ่หลี่,และ อัจฉรา.หนังสือคัดอักษรจีน ภาค 2 เล่ม 1.กรุงเทพฯ:เดียร์ เดียร์,2558.
-กุลนันท์ แซ่หลี่,และ อัจฉรา.หนังสือคัดอักษรจีน ภาค 2 เล่ม 2.กรุงเทพฯ:เดียร์ เดียร์,2558.
www.pasajeen.com
www.thaichinese.net
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนใน ข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการแกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ