วิศวกรรมความปลอดภัย

Safety Engineering

 1. เข้าใจพื้นฐานของอุบัติเหตุ และการป้องกัน  2. รู้สาเหตุ และการควบคุมการเกิดอุบัติเหตุ   3. เข้าใจหลักการบริหารความปลอดภัย   4. เข้าใจกฎหมาย และมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย  5. เห็นคุณค่าในวิศวกรรมความปลอดภัย   
เพื่อให้รายวิชาเป็นมาตรฐาน และไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด
 
ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเ้หตุ ออกแบบ วิเคราะ์และควบคุมความเสี่ยงภัยในพืิ้นที่ทำงาน วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน สภาพแวดล้อมและองคืประกอบเกี่ยวกับความปลอดภัยทางวิศวกรรม การประกันอุบัติเหตุ การสอบสวนอุบัติเหตุ การประเมินความเสี่ยง ระบบและอุปกรณ์ป้องกันภัย การจัดตั้งอค์กรความปลอดภัยทางวิศวกรรม หลักการบริงานควาามปลอดภัยและลกฎหมายาความปลอดภัย
1
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดําเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่าง ราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาการวัสดุวิศวกรรม ต้องพยายามสอดแทรก ตามแผนที่แสดงการการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชาการวัสดุวิศวกรรม (Curriculum Mapping) กำหนดความรับผิดชอบหลักไว้ ในข้อ 1.1.2 ดังนี้     1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม  นอกจากนั้นในการสอนรายวิชาของสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ยังได้สอดแทรกเนื้อหาที่ เกี่ยวกับจริยธรรม กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับวิชาชีพวิศวกรรมอุตสาหการ และจรรยาบรรณ วิศวกรในการสอนด้วย อาจารย์ผู้สอนจะต้องจัดให้มีการวัดมาตรฐานในด้านคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งไม่ จําเป็นต้องเป็นข้อสอบ อาจจะวัดพฤติกรรมระหว่างทํากิจกรรมที่กําหนดมีการกําหนดคะแนนในเรื่อง คุณธรรม จริยธรรมให้เป็นส่วนหนึ่งของคะแนนความประพฤติของนักศึกษา
1 ให้ความสำคัญในเรื่องการตรงต่อเวลา 
การส่งงานตามเวลาที่กำหนด  การแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทําการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น 
1.2.4 ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยและสังคม
1   พฤติกรรมการเข้าเรียนตรงเวลาของนักศึกษา เช็คชื่อ และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามตรงเวลา  2   สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับอย่างต่อเนื่อง  3   ปริมาณการทุจริตในการสอบ
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ในวิชาวิศวกรรมความปลอดภัยซึ่งเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคม ดังนั้นมาตรฐานความรู้จากแผนที่แสดงการการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) กำหนดความรับผิดชอบหลักไว้ ในข้อ 2.1.2 และความรับผิดชอบรองไว้ในข้อ 2.1.1 และ 2.1.3  2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทาง คณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานวิศวกรรมความปลอดภัย (ปัจจัยและสาเหตุของอุบัติเหตุ ความเสี่ยงภัยในพื้นที่ทำงาน )  2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบ วิเคราะห์ควบคุมความเสี่ยง วิธีการป้องกันอุบัติภัยในการทำงาน การสอบสวนอุบัติเหตุ การประเมินความเสี่ยง ระบบและอุปกรณ์ป้องกันภัย การบริหารงานความปลอดภัย และกฎหมายความปลอดภัย  2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้จากวิชาวิศวกรรมความปลอดภัยกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  
บรรยาย  ยกตัวอย่างประกอบ กรณีศึกษา บทบาทสมมติ มอบหมายศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ ทำแบบฝึกหัด   การนำเสนอผลงาน
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2.3.2   ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ  2.3.3    ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้โดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบ การศึกษาเเล้ว ดังนั้น นักศึกษาจําเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรม และความรู้ในสาขาวิศวกรรมอุตสาหการจากแผนที่แสดงการการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) กำหนดความรับผิดชอบหลัก 3.1.2   ความรับผิดชอบรองคือ 3.3.1 ,3.3.3  3.3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี  3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการที่เกี่ยวข้องกับ ปัจจัยและสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ วิเคราะห์และควบคุมความเสี่ยง วิธีป้องกันอุบัติภัย การสอบสวนอุบัติเหตุ การประเมินความเสี่ยง 3.3.3 สามารถคิด วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ แบบฝึกหัด กรณีศึกษา  การมอบให้นักศึกษาทำกิจกรรมกลุ่ม การอภิปรายกลุ่ม  การศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงาน  นำเสนอผลงาน
3.3.1  พิจารณาจากผลการนำเสนอผลงาน และผลงานกลุ่ม และผลงานส่วนบุคคล  3.3.2  ผลการทำแบบฝึกหัด  3.3.3 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ ข้อสอบกลางภาค ปลายภาค สอบย่อย
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึ่งส่วนใหญ่ต้องเกี่ยวข้องกับคนที่ไม่รู้จักมาก่อน คน ที่มาจากสถาบันอื่นๆ และคนที่จะมาเป็นผู้บังคับบัญชา หรือคนที่จะมาอยู่ใต้บังคับบัญชา ความสามารถที่ จะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่างๆ เป็นเรื่องจําเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น อาจารย์ต้องสอดแทรกวิธีการที่เกี่ยวข้อง กับคุณสมบัติต่างๆ ต่อไปนี้ให้นักศึกษาระหว่างสอน จากแผนที่แสดงการการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) กำหนดความรับผิดชอบหลัก คือ 4.1.4 ความรับผิดชอบรองคือ 4.1.1  4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในวิชาวิศวกรรมความปลอดภัย มาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม  4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้ง งานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสมสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความ รับผิดชอ
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  4.2.2   การนำเสนอรายงาน
ประเมินจากผลงานการอภิปราย   ผลการนำเสนอผลงาน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
จากแผนที่แสดงการการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) การควบคุมคุณภาพกำหนดความรับผิดชอบหลัก คือ  5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์  ความรับผิดชอบรองคือ  5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
อบหมายกรณีศึกษา   การค้นคว้ารายงานนำเสนอผลงาน
5.3.1   ประเมินจากเทคนิคการนําเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์  2.5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจํากัด เหตุผลในการเลือกใช้ เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนําเสนอต่อชั้นเรียน
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย การทํางานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลัก ทฤษฎีแต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติการใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การ ทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสําคัญมากในการทํางาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จําเป็นยิ่งในการ พัฒนาตนเองและความก้าวหน้าในตําแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตวิศวกรรมอุตสาหการ ดังนั้น ในการเรียนการ สอนวิชาการควบคุมคุณภาพ จากแผนที่แสดงการการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ได้ครอบคลุมความรับผิดชอบรอง ดังนี้  6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความ ร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2 วิธีการสอน
มอบหมายกิจกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม กรณีศึกษา
 
มอบหมายกิจกรรมกลุ่ม กรณีศึกษา 
1 สังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกัน  2 ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ึคุณธรรม ความรู้ ปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล วิเคราะห์ตัวเลข ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2 1.1 และ 1.3 1.2 3.2 3.1,3.3 4.1 4.4 5.2,5.3 6.2
1 ENGIE118 วิศวกรรมความปลอดภัย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 1.2 • พฤติกรรมการเข้าเรียนตรงเวลาของนักศึกษา เช็คชื่อ และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามตรงเวลา • สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับอย่างต่อเนื่อง า ตลอดภาคการศึกษ 10%
2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3 แบบฝึกหัด ผลรายงาน ผลการปฏิบัติงาน 3-16 30%
3 4.4 5.2 5.3 ผลการรายงาน นำเสนอผลงาน 20%
4 2.1-2.3 3.1-3.3 สอบกลางภาค ปลายภาค 40%
วิฑูรย์ สิมะโชคดี และวีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์.วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัยในโรงงาน. สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น).กรุงเทพฯ.2543 
ทยา  อยู่สุข. อาชีวอนามัยความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม. ภาควิชาอาชีวอนามัยความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2542
 
1.1 นักศึกษาประเมินผู้สอนผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย
าจารย์ผู้สอนทบทวนผลการประเมินการสอน 
นำผลการประเมินจากนักศึกษา ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา กิจกรรมการเรียนการสอนมาปรับปรุงรายวิชา
พิจารณาจากผลงาน คะแนน
ทบทวนนำเสนอใน มคอ.5