ระเบียบวิธีวิจัยทางเทคโนโลยีการเกษตร

Research Methodology in Agricultural Technology

1.1 รู้จรรยาบรรณของนักวิจัย ประเภทของงานวิจัย และเทคนิคการดำเนินงานวิจัย 
1.2 เข้าใจองค์ประกอบของการทดลอง การประมาณและการควบคุมความแปรปรวน การอธิบายผลที่เหมาะสม
1.3 เข้าใจแผนการทดลองแบบปัจจัยเดียวและการวิเคราะห์ความแปรปรวน
1.4 เข้าใจแผนการทดลองแบบสองปัจจัยและการวิเคราะห์ความแปรปรวน
1.5 เข้าใจแผนการทดลองแบบหลายปัจจัยและการวิเคราะห์ความแปรปรวน
1.6 เข้าใจการเปรียบเทียบผลการทดลอง
1.7 เข้าใจการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้นและสหสัมพันธ์
1.8 เข้าใจแผนการทดลองในสภาพแปลงเกษตรกรและการวิเคราะห์ความแปรปรวน เทคนิคและปัญหาการทดลองทางการเกษตร
1.9 เข้าใจสถิติเชิงพรรณนา และสถิติที่ไม่มีตัวชี้วัด (non-parametric statistics)
1.10 เข้าใจการนำเสนอผลการทดลอง 
ปรับปรุงรายเนื้อหาเพิ่มเติมจากรายละเอียดของวิชาตามเกณฑ์ของหลักสูตร เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับงานที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงโดยเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาและสื่อการสอนภาคปฏิบัติให้ทันสมัยและสอดคล้องกับการนำไปใช้ในการวิจัยและประกอบอาชีพ รวมทั้งสามารถศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเองได้
จรรยาบรรณของนักวิจัย ประเภทของงานวิจัย เทคนิคการวางแผนและการดำเนินงานวิจัย การประยุกต์ใช้สถิติและแผนการทดลองต่าง ๆ ในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปช่วยวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผลและการสรุปผลข้อมูล การเขียนโครงการวิจัย
3
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้ 
1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม    
1.  ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรมการวิจัย 
2. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในการวิจัย
3. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิจัย  การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา 
1. การตรวจสอบการมีวินัย การมีจรรยาบรรณวิจัย  โดยการรายงานตัวอย่างการวิจัยที่มีจรรยาบรรณ
2. นักศึกษาประเมินตนเอง 
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง 
1.ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม 
2. การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning)
3. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเองศึกษาจากหนังสือ ตำรา  และสื่อสารสนเทศ  เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มา สรุป อภิปราย มีการทำรายงานเป็นรายบุคคล และการนำเสนอตัวอย่างรายงานวิจัย 
การนำเสนอตัวอย่างรายงานวิจัยที่สอดคล้องกับหัวข้อการศึกษาของนักศึกษา
3.1มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  
1. สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาทั้งในและนอกชั้นเรียน 
2. สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานการวิจัยในสถานการณ์จริง พัฒนา กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)  
3. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมความคิดในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากประเด็นปัญหาที่กำหนด     
1. ประเมินจากการอธิบาย ตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็น เป็นรายบุคคล
2. รายงานความก้าวหน้าเล่มรายงานที่วิเคราะห์แบบกลุ่ม
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.4  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
1. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ 
3. การสอนแบบวิเคราะห์ร่วมโดยกลุ่ม      
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การนำเสนองานค้นคว้าทางวิชาการที่สอดคล้องกับหัวข้อที่กำลังศึกษา
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 
5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.4  สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)  
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ 
3. การสอนแบบรายงานเชิงวิเคราะห์ผลงานค้นคว้า
1. ความถูกต้องของผลการวิเคราะห์งานที่ค้นคว้า
2. การนำเสนอรายงานเชิงวิเคราะห์ของผลงานที่ นศ. ค้นคว้ามา ด้วยปากเปล่า
3. การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 MSCGT001 ระเบียบวิธีวิจัยทางเทคโนโลยีการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 - 2.4, 3.1 - 3.2 สอบกลางภาค และปลายภาค 9 และ 17 ร้อยละ 40
2 4.2 - 4.5 และ 5.1 - 5.4 ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 50
3 1.1 - 1.4และ 1.6 1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา 2. การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
1. ฐานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ (Full Text) CABI [เข้าถึงออนไลน์]   http://www.cabi-publishing.org/AtoZ.asp?Category=Journals   สืบค้นวันที่ 1 เมษายน 2562.
2. ฐานข้อมูลบรรณานุกรมและบทคัดย่อด้านการเกษตรและสาขาที่เกี่ยวข้อง [เข้าถึงออนไลน์] AO : http://wwwlib.umi.com/dissertations/search  สืบค้นวันที่ 1 เมษายน 2562.
3. Thai Patents เป็นฐานข้อมูลสิทธิบัตรไทย [เข้าถึงออนไลน์] http://www.ipic.moc.go.th/ สืบค้นวันที่ 1 เมษายน 2560.
4. ฐานข้อมูลบรรณานุกรมรายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ (วช.) เป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและบทคัดย่อ [เข้าถึงออนไลน์] http://www.riclib.nrct.go.th/       สืบค้นวันที่ 1 เมษายน 2562.
5. การสืบค้นข้อมูลโครงการวิจัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) เป็นให้ข้อมูลบรรณานุกรม รายงานการวิจัย และวิทยานิพนธ์ ประมาณ 100,000 ชื่อเรื่อง [เข้าถึงออนไลน์] http://www.riclib.nrct.go.th/   สืบค้นวันที่ 1 เมษายน 2562.
-
เอกสารวิชาการ เอกสารประกอบการขอทุนวิจัย เอกสารการขึ้นทะเบียนครอบครองเชื้อจุลินทรีย์ เอกสารประกอบการขอจริยธรรมการใช้สัตว์ทดลอง
ให้นักศึกษาตั้งเป้าหมายผลการเรียนและให้พิจารณาผลงานที่ตนเองทำได้โดยการมีส่วนร่วมของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
ประเมินผลการสอนโดยการมีส่วนร่วมให้นักศึกษาพิจารณาผลงานตนเองเปรียบเทียบกับของผู้สอน
ให้นักศึกษาวิเคราะห์รายงานผลการวิจัยจากวารสารแล้วถอดความรู้รวมทั้งวิจารณ์การวิจัยให้เพื่อนร่วมชั้นเรียนฟัง และผู้สอนสรุปการวิเคราะห์
ในระหว่างกระบวนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในแต่ละหน่วยเรียน ดูจากเวลาและความถูกต้องของงานที่มอบหมาย และสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย
นำผลการประเมินการสอนของนักศึกษาและเกรดผลการเรียนมาใช้ในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนเพื่อเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป