สถาปัตยกรรมไทย

Thai Architecture

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจรูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย และงานประดับตกแต่งสถาปัตยกรรมไทยแบบประเพณีจากศาสนสถานภาคต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกหัดค้นคว้า เรียนรู้และวิเคราะห์สถาปัตยกรรมไทยที่เกิดขึ้นจากค่านิยมทางวัฒนธรรมแบบแผนประเพณี คติความเชื่อ วัสดุก่อสร้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อม เพื่อให้นักศึกษาเกิดความซาบซึ้งและสำนึกในคุณค่าของงานออกแบบสถาปัตยกรรมไทยซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่า เพื่อให้นักศึกษาฝึกหัดเขียนแบบและทำหุ่นจำลองงานสถาปัตยกรรมไทย
พัฒนา / ปรับปรุงเนื้อหาและการแบ่งหน่วยให้เหมาะสม เตรียมการเพื่อจัดทำสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานสถาปัตยกรรมไทยแบบประเพณีประเภทอาคารทางศาสนาและอาคารที่เกี่ยวข้องกับ
สถาบันกษัตริย์ในล้านนาและภาคต่างๆ ของไทย ด้านลักษณะพื้นฐาน ความหมาย คติการสร้าง รูปแบบ วัสดุ
โครงสร้าง เทคนิคการก่อสร้างและทัศนศึกษา
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เฉพาะรายที่ต้องการ
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกระหว่างการเรียนการสอนทุกครั้ง ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน แสดงความคิดเห็นเรื่องการมีวินัย ตรงต่อเวลา มอบหมายงานให้รับผิดชอบเป็นกลุ่มให้ช่วยเหลือกัน
ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย ตลอดจนการร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย ของคณะ และกิจกรรมนักศึกษา ประเมินจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
การบรรยายประกอบสื่อผสมโดยอาจารย์ประจำวิชา อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก และผู้ปฏิบัติงานอนุรักษ์ การนำเสนอรายงานการค้นคว้า
ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค ประเมินจากรายงาน การแสดงความคิดเห็นและการอภิปรายในห้องเรียน
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การบรรยายประกอบสื่อผสม การมอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอแนวคิดวิเคราะห์ การสะท้อนแนวคิดทางปรัชญาจากการอภิปรายกลุ่ม
ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค ประเมินจากรายงาน การแสดงความคิดเห็นและอภิปรายในชั้นเรียน
     1. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานกลุ่ม การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
บรรยาย ให้คำแนะนำ และอภิปราย นำเสนองานปฏิบัติโดยใช้ภาษาและรูปแบบเทคโนโลยีสาระสนเทศที่เหมาะสม
ประเมินจากการใช้ภาษาและเทคโนโลยีสาระสนเทศในการนำเสนองาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4
1 42012207 สถาปัตยกรรมไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม ประเมินจากการปฏิบัติตนขณะเรียน การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย ตลอดจนการร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย ของคณะ และกิจกรรมนักศึกษา 2) ประเมินจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3) ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายการอ้างอิงข้อมูลในรายงาน ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา สอบกลางภาค/ปลายภาค 15%
2 ด้านความรู้ 1) ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 2) ประเมินจากผลงานการฝึกปฏิบัติการ ทำรายงาน Sketch 3) การแสดงความคิดเห็นและการอภิปรายในห้องเรียน การจัดงานนิทรรศการ ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา สอบกลางภาค/ปลายภาค 40%
3 ด้านทักษะทางปัญญา 1) ประเมินจากการสอบกลางภาคและปลายภาค 2) ประเมินจากผลงานการฝึกปฏิบัติการ ทำรายงาน Sketch 3) การแสดงความคิดเห็นและอภิปรายในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา สอบกลางภาค/ปลายภาค 35%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 3) ทัศนะศึกษานอกสถานที่ และจัดนิทรรศการ ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา สอบกลางภาค/ปลายภาค 5%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ประเมินจากการใช้ภาษาและเทคโนโลยีสาระสนเทศในการนำเสนองาน 2) การค้นคว้าข้อมูล ความทันสมัยของข้อมูล 3) การนำเสนอผลงานจัดนิทรรศการ ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 5%
เวปไซด์รายวิชา http://suebpong.rmutl.ac.th
-
ผศ.ดร.ธาดา สุทธิธรรม, สถาปัตยกรรมไทย, ขอนแก่น, พ.ศ.2541. ศ.เฉลิม รัตนทัศนีย์, วิวัฒนาการศิลปะ สถาปัตยกรรมไทยพุทธศาสนา, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2539. สมหมาย เปรมจิตต์ และคณะ, พระเจดีย์ในล้านนา, เชียงใหม่, พ.ศ.2526 (พิมพ์ครั้งที่2) ศ.โชติ กัลยาณมิตร, พจนานุกรม สถาปัตยกรรมและศิลปะเกี่ยวเนื่อง, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2548 (พิมพ์ครั้งที่2) ผ.ศ.วรลัญจก์ บุญสุรัตน์, วิหารล้านนา, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2544. ร.ศ.สุรพล ดำริห์กุล, แผ่นดินล้านนา, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2539. ร.ศ.สมคิด จิระทัศนกุล, คติ สัญลักษณ์และความหมายของซุ้มประตู-หน้าต่างไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2546. กรมศิลปากร, จอมเจดีย์, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2543. รศ.สมคิด จิระทัศนกุล, วัด: พุทธศาสนาสถาปัตยกรรมไทย, กรุงเทพฯ, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2543. นารถ โพธิประสาท, สถาปัตยกรรมในประเทศไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2542. รศ.เสนอ นิลเดช, ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย, กรุงเทพฯ, พ.ศ.2537. ผศ.สามารถ ศิริเวชพันธ์, สถาปัตยกรรมล้านนา, เชียงใหม่, พ.ศ.2548. ผศ.สามารถ ศิริเวชพันธ์, เอกสารประกอบการสอนวิชาสถาปัตยกรรมไทย 2,สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ, พ.ศ.2527. รศ.ฤทัย ใจจงรัก, สัดส่วนในงานสถาปัตยกรรมไทย, กรุงเทพฯ,พ.ศ.2544. Nithi Sthapitanonda, Brain Mertens, Architecture of Thailand, Bangkok, 2005. ชัยปฐมพร ธนพัฒน์ปวงวัน, สถาปัตยกรรมวิหาร วัดบวกครกหลวง, เชียงใหม่, พ.ศ.2559
- สอบถามความเห็นจากนักศึกษาในสัปดาห์สุดท้าย
- แบบประเมินผลให้นักศึกษาเขียนแสดงความคิดเห็นต่อการสอนในสัปดาห์สุดท้าย
จัดประชุมคณาจารย์ระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน
ใช้ผลประเมินโดยนักศึกษา และการประเมินโดยทึมผู้สอน เป็นเครื่องมือปรับปรุงการสอนเป็นประจำทุกปีการศึกษา
- มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา
- มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบและผลสอบ
- แจ้งผลการประเมินผลการสอบ การรายงาน การนำเสนอและคะแนนให้นักศึกษาทราบ
นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนา และ มคอ.5 มาสรุปผลและพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป