ความซาบซึ้งในงานศิลปะไทย

Thai Art Appreciation

๑.๑. เข้าใจคติความเชื่อความหมายของงานศิลปะไทย
๑.๒. เข้าใจหลักการของความงามในทัศนธาตุของงานศิลปะไทย
๑.๓. เห็นความสำคัญและคุณค่าของงานศิลปะไทย
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ความซาบซึ้งในงานศิลปะไทย สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรวิชาเอกศิลปะไทย ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาเกี่ยวกับเกี่ยวกับคติ ความเชื่อ ความหมาย ความงาม ความรู้สึกด้านอารมณ์และทัศนธาตุในการสร้างสรรค์งานศิลปะไทย
ศึกษาเกี่ยวกับคติ ความเชื่อ ความหมาย ความงาม ความรู้สึกด้านอารมณ์และทัศนธาตุในการสร้างสรรค์งานศิลปะไทย
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฎิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ

การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินจากการปฏิบัติงานของนักศึกษาและประเมินจากผลงานที่ปฎิบัติ ประเมินจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดูงาน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
2. ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
3. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา ประเมินผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง และประเมินจากการทดสอบ เป็นต้น
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ดัานทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้

กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป้นผู้นำและผู้รายงาน ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัย ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ มอบหมายงานให้สัมภาษณ์บุคลต่างๆ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
1. มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย 2. มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนถนัด 3. สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน 5. มีทักษะในการสร้างสรรค์ที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
สร้างเจตคติที่ดีต่อการฝึกปฏิบัติ จัดนิทรรศการแสดงผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาในที่สาธารณะเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความคิดสร้างสรรค์และฝึกปฏิบัติงานด้วยใจ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์เป็นต้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 5
1 41000025 ความซาบซึ้งในงานศิลปะไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และ ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ มอบหมายและการร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านความรู้ นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ มีคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาที่ศึกษานั้นต้องเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคม ดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้ 1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฎิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากการปฏิบัติงานของนักศึกษาและประเมินจากผลงานที่ปฎิบัติ 4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย 5. ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดูงาน สัปดาห์ที่ 9 สอบกลางภาค 30 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจำนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ จากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญา 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา ประเมินผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง และประเมินจากการทดสอบ เป็นต้น สัปดาห์ที่ 14 สัปดาห์ที่ 15 10%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ดัานทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ 1. กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำและผู้รายงาน 4. มอบหมายงานให้สัมภาษณ์ศิลปินหรือสล่าพื้นบ้านต่างๆ ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล สัปดาห์ที่ 13 5 %
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดมาตรฐานนระหว่างการสอน โดยอาจให้นักศึกษาแก้ปัญหา วิเคราะห์ประสิทธิภาพขอวิธีแก้ปัญหา และให้นำเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหา ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ต่อนักศึกษาในชั้นเรียน อาจมีการวิจารณ์ในเชิงวิชาการระหว่างอาจารย์และกลุ่มนักศึกษา 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน สัปดาห์ที่ 12 5 %
6 ด้านทักษะพิสัย 1. มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย 2. มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนถนัด 3. สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน 5. มีทักษะในการสร้างสรรค์ที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน 1. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา 2. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 3. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์เป็นต้น สัปดาห์ที่ 17 สอบปลายภาค 40 %
หนังสือ การเข้าถึงศิลปะ ในงานจิตรกรรมไทย ,องค์ประกอบศิลปะ,จิตรกรรมไทย
- เอกวิทย์ ณ ถลาง,ภูมิปัญญาล้านนา,กรุงเทพฯ,อัมรินทร์,2544,พิมพ์ครั้ง 2
- สุรชัย จงจิตงาม,คู่มือท่องเที่ยว เรียนรู้:ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง,อัมรินทร์,กรุงเทพฯ,2549.
- สุรพล ดำริห์กุล,ลายคำล้านนา,ด่านสุธาการพิมพ์,กรุงเทพฯ,2544.
- วรลัญจก์ บุญสุรัตน์,วิหารล้านนา,เมืองโบราณ,กรุงเทพฯ,2544.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับงานจิตรกรรมไทย
จีรพันธ์ สมประสงค์. ศิลปะประจำชาติ. กรุงเทพฯ: โอ. เอส.พริ้นติ้ง, 2532
ชะลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ. ไทยวัฒนาพาณิช, 2534
นิวิต หะนนท์. ศ012 ศิลปะนิยม 2. กรุงเทพฯ: พริ้นติ้งกราฟฟิค, 2540
บุญเยี่ยม แย้มเมือง. สุนทรียะทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์
ประยูร อุลุชาฎะ และคณะ. ศิลปะกับสังคมไทย หน่วยที่ 1-7. กรุงเทพฯ: สุโขทัยธรรมาธิราช, 2533
พระเทวาภินิมมิต. ตำราลายไทย. กรุงเทพฯ: นครเขษมบุ๊คสโตร์, 2486
วนิดา ขำเขียว. ประวัติศาสตร์ศิลป์. กรุงเทพ : พรานนกการพิมพ์, 2543
วิรุณ ตั้งเจริญ. ทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.), 2546
สุชาติ เถาทอง และคณะ. ศิลปทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์, 2545
สุชาติ เถาทอง และคณะ.ศิลปะทัศนศิลป์ (ม.4-ม.6). กรุงเทพ : อักษรเจริญทัศน์, 2546
สุภัทรดิศ ดิศกุล. ศิลปะในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ธรรมศาสตร์, 2539
เศรษมันตร์ กาญจนกุล. เส้นสายลายไทย (ชุดฐานเบื้องต้นการเขียนลายไทย). กรุงเทพฯ.
อารี สุทธิพันธ์. ศิลปนิยม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์กระดาษสา, 2528
- วารสาร เมืองโบราณ
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะไทย
- เอกวิทย์ ณ ถลาง,ภูมิปัญญาล้านนา,กรุงเทพฯ,อัมรินทร์,2544,พิมพ์ครั้ง 2
- สุรชัย จงจิตงาม,คู่มือท่องเที่ยว เรียนรู้:ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง,อัมรินทร์,กรุงเทพฯ,2549.
- สุรพล ดำริห์กุล,ลายคำล้านนา,ด่านสุธาการพิมพ์,กรุงเทพฯ,2544.
- วรลัญจก์ บุญสุรัตน์,วิหารล้านนา,เมืองโบราณ,กรุงเทพฯ,2544.
- วารสาร เมืองโบราณ
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ภูมิปัญญาล้านนาไทย
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอน แบบประเมินรายวิชาในรูปแบบของใบประเมิน หรือการประเมินทางอินเทอร์เนต การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนและผู้เรียน สังเกตการณ์จากพฤติกรรมผู้ร่วมชั้นเรียน
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- ประเมินจากการเรียนรู้ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม เพื่อหาข้อดีข้อด้อยและปรับปรุงพัฒนาในภาคการศึกษาต่อไป
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย