เตรียมสหกิจศึกษาและการฝึกงานทางบริหารธุรกิจ

Pre Co-operative Education and Job Internship in Business Administration

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและฝึกทักษะการปฏิบัติเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนไป ปฏิบัติ งานสหกิจศึกษา  หรือการฝึกงานทางวิชาชีพ โดยมุ่งเน้นฝึกทักษะในด้านความรู้เกี่ยวกับ งานสหกิจศึกษาหรือ การฝึกงานทางวิชาชีพ ทักษะด้านการสื่อสาร ทักษะในการทำงานเป็นทีม การปรับตัวเข้ากับสังคมการทำงาน ด้านบุคลิกภาพและมารยาท ด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณใน วิชาชีพ  
เพื่อเตรียมตัวให้นักศึกษาได้มีความรู้ ความเข้าใจ   และมีการฝึกทักษะการปฏิบัติงานเพื่อเตรียม            
ความพร้อมก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาหรือการฝึกงานทางวิชาชีพ โดยในการเตรียมความพร้อม                     สำหรับนักศึกษานั้นได้มุ่งเน้นฝึกทักษะในด้านความรู้เกี่ยวกับงานสหกิจศึกษาหรือการฝึกงานทาง วิชาชีพ            ทั้งในทักษะด้านการสื่อสาร ทักษะในการทำงานเป็นทีม การปรับตัวเข้ากับสังคมการทำงาน ด้านบุคลิกภาพ และมารยาท ด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ ซึ่งทักษะต่าง ๆ เหล่านี้เป็น ทักษะที่มีความจำเป็นสำหรับการฝึกงานสหกิจศึกษาหรือการฝึกงานทางวิชาชีพ
การเตรียมตัวเพื่อการฝึกสหกิจศึกษาและการฝึกงานทางบริหารธุรกิจในสถานประกอบการ เริ่มตั้งแต่การเลือกสถานประกอบการที่เหมาะสม การเขียนจดหมายสมัครงานและเทคนิคการสัมภาษณ์งาน การพัฒนาบุคลิกภาพ มารยาทสังคม จริยธรรมวิชาชีพ ทักษะพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติงาน การเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล อธิบายและสรุปผลการศึกษา โดยสามารถเขียนและนำเสนอผลงานได้ ตลอดจนเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร อาชีวอนามัย มาตรฐานและความปลอดภัยในสถานประกอบการ  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแรงงานและสถานประกอบการ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในเนื้อหารายวิชา  บรรยายพร้อมยกตัวอย่างหัวข้อเรื่องคุณธรรม  จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ให้ความสำคัญในด้านระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา  และกำหนดให้นักศึกษาส่งงานตาม      กำหนดให้นักศึกษาหากรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องแล้วนำมาวิเคราะห์ตามศาสตร์และทฤษฎีที่ เรียนพร้อมกับแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามระยะเวลาที่กำหนด
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา ประเมินผลการน าเสนองานที่มอบหมาย ประเมินผลจากแบบทดสอบ
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่ส าคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  อภิปราย การท างานกลุ่ม  การน าเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ
มอบหมายให้ค้นหาหัวข้อพิเศษ โดยน ามาสรุปและน าเสนอ   โดยจัดกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเป็นรายสัปดาห์หรือมากกว่า
ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learningและการวิเคราะห์ข้อมูล ประเมินผลและติดตามผลการดำเนินงาน  ประเมินผลจากแบบทดสอบ   และการตอบข้อคำถาม
คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
การมอบให้นักศึกษาท ากรณีศึกษา  วิเคราะห์และแนวทางแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน  อภิปรายกลุ่ม เน้นการปฏิบัติที่สารถนำไปใช้จริงได้
สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์ แนวคิดในการประยุกต์ใช้จริง  เน้นกระบวนการแก้ไขปัญหา วัดผลจากการประเมินหัวข้อพิเศษ  การนำเสนอผลงาน สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่ม ทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานให้ทำงานกลุ่ม กำหนดกิจกรรม มีการศึกษาหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์  หรือผู้มีประสบการณ์  เสริมสร้างให้นักศึกษามีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามรถในการรับผิดชอบ ต่อการทำงานกับผู้อื่น  ต่องานที่ได้รับมอบหมาย และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไป ปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการได้ เสริมสร้างและกำหนดกิจกรรมการมีภาวะผู้นำ
ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการทำงานเป็นกลุ่ม  การร่วมกิจกรรม และการอภิปรายผล
สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการ นำเสนออย่างเหมาะสม สามารถใช้สารสนเทศเละเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
การมอบให้นักศึกษาทำกรณีศึกษา  วิเคราะห์และแนวทางแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน อภิปรายกลุ่มเชิงวิชาการระหว่างอาจารย์และกลุ่มนักศึกษา เน้นการปฏิบัติ  จัดจ ำลองสถานการณ์ และเสมือนจริง  ที่สามารถน าไปใช้จริงได้ เพื่อร่วม นำเสนอการแก้ไขปัญหา เสริมสร้างเทคนิคการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่หลากหลายต่อสถานการณ์
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนองาน  การเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสม   ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำด  เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือ  การอภิปรายกรณีศึกษา  ที่มีต่อการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 10003402 เตรียมสหกิจศึกษาและการฝึกงานทางบริหารธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน/การแต่งกาย 1-15 10%
2 คุณธรรม จริยธรรม การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 10%
3 ความรู้ การทดสอบย่อย 5 ครั้ง 1-15 10%
4 ความรู้ การสอบกลางภาค 9 20%
5 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การนำเสนองาน/การรายงาน 4-15 30%
6 ความรู้ การสอบปลายภาค 17 20 %
คู่มือสหกิจศึกษาส าหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา   พิมลพรรณ  เชื้อบางแก้ว. 2549. การพัฒนาบุคลิกภาพ Personality development ;   มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. พิมพ์ครั้งที่ 6 – กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัย. วีระวัฒน์  ปันนิตานัย. 2544. คู่มือการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง : จากหลักวิธีสู่แนวปฏิบัติที่ดี.  กรุงเทพมหานคร. เอช อาร์ เซ็นเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. หน้า 281. สิริวันร่มฉัตรทอง. มปป. มาตรฐานความปลอดภัยสู่ ISO 26000. สภาองค์การนายจ้างแห่งประเทศไทย.
คู่มือการจัดการสหกิจศึกษาไทย มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดำเนินงานสหกิจศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย หัวข้อ “ปรัชญาสหกิจศึกษาและการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับ การ ท างานของสถาบันอุดมศึกษา” “การบริหารจัดการสหกิจศึกษา” “มาตราฐานสหกิจศึกษา” “การ แก้ไข ปัญหาในงานสหกิจศึกษา” ในโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการสหกิจศึกษา  หลักสูตร “คณาจารย์นิเทศสห กิจศึกษา”  รุ่นที่  11  จากสมาคมสหกิจศึกษาไทย เอกสารประกอบการบรรยายการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมประสิทธิภาพการจัดการสหกิจศึกษา             รุ่นที่ 2  จากสมาคมสหกิจศึกษาไทย
วารสารสหกิจศึกษา
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน       สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา
หลักสูตร กำหนดให้มีการประเมินการสอน   ผลประเมินการสอนจากนักศึกษา การสัมภาษณ์นักศึกษา
หลักสูต กำหนดให้ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามที่ สกอ.กำหนด ทุกภาคการศึกษา ให้ผู้สอนเข้ารับการอบรมกลยุทธ์การสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน  การวิจัยในชั้นเรียน ในรายวิชาที่มีปัญหาอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา  มีการประชุมผู้สอนเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและหาแนวทางแก้ไข
หลักสูตรให้มีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คณะกรรมการประเมินของหลักสูตร  การรายงานรายวิชาหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา การทบทวนเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอน และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนารายวิชาเสนอต่อประธานหลักสูตร พิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปเพื่อวางแผนปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป