การชุบเคลือบผิวเครื่องประดับ

Jewelry Electro and Plating

    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในชุบเคลือบผิว เครื่องประดับด้วยโลหะมีค่า ตลอดจนเข้าใจและคำนึงถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และการกำจัดของ เสียที่เกิดจากกระบวนการชุบเคลือบผิวเครื่องประดับ
        เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์สำหรับและมีทักษะ ในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในชุบเคลือบผิวเครื่องประดับด้วยโลหะมีค่า ตลอดจนได้เรียนรู้ขั้นตอนและ กระบวนการชุบเคลือบผิวเครื่องประดับแบบต่าง ๆ เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพทางด้านอัญมณีและ เครื่องประดับ ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและแนวโน้มด้านต่าง ๆ ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย  
    ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการชุบเคลือบผิวเครื่องประดับด้วยไฟฟ้า วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือใน การชุบเคลือบผิว กระบวนการชุบแบบต่าง ๆ เช่น ชุบเงิน ชุบทอง ชุบทองคำขาว การตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน การคำนึงถึงความปลอดภัยและการกำจัดของเสียจากกระบวนการชุบ
-  อาจารย์ผู้สอน ประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
-  อาจารย์ผู้สอน จัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
    1.1.1 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
    1.2.1  บรรยายและสอดแทรกเนื้อหาเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและทางด้านวิชาชีพ ซึ่งจรรยาบรรณเป็นสิ่งที่สำคัญในการประกอบวิชาชีพทางด้านเครื่องประดับและอัญมณี
    1.3.1  ประเมินผลจากการสอบถามในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
    2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2.1  บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา โดยการใช้สไลด์ ภาพนิ่งและ วีดิทัศน์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจตามเนื้อหาในรายวิชา
    2.3.1  ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนทั้งสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
    3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
    3.2.1  มอบหมายให้นักศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับเอกสารทางวิชาการ งานวิจัย กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการชุบเคลือบผิวเครื่องประดับแเป็นรายบุคคล นำเสนอและ อภิปรายภายในชั้นเรียน
3.3.1  ประเมินผลจากการสอบถามในห้องเรียน
3.3.2  ประเมินผลจากการคิดวิเคราะห์และการนำเสนองาน
    4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
    4.1.2  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
    4.2.1  มอบหมายให้นักศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับเอกสารทางวิชาการ งานวิจัย กรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการชุบเคลือบผิวเครื่องประดับแเป็นรายบุคคล นำเสนอและ อภิปรายภายในชั้นเรียน
    4.3.1  ประเมินผลจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและพฤติกรรมการแสดงออกในการร่วมกิจกรรมกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43043047 การชุบเคลือบผิวเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา การสอบกลางภาคและสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ 17 ร้อยละ 30
2 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. ประเมินผลจากการสอบถามในห้องเรียน 2. ประเมินผลจากการคิดวิเคราะห์และการนำเสนองาน 3. การปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่ 1-16 ร้อยละ 60
3 1.1.1 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ประเมินผลจากการสอบถามในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการ สอบ การมีส่วนร่วม สัปดาห์ที่ 1-17 ร้อยละ 10
สมชาย มนัสเกียรติกุล.2550. คู่มือการชุบโลหะมีค่าบนเครื่องประดับ. ห้างหุ้นส่วนจำกัด
        บางกอกบล๊อก. 88 หน้า.
สมชาย มนัสเกียรติกุล, สุพิชฌา สุพรรณสมบูรณ์ และ สุภิญญษ วงษ์ศรีรักษา. 2549.
       เทคนิคการชุบเครื่องประดับ. โครงการเพิ่มขีดความสามารุการแข่งขันธุรกิจแฟชั่น
       สาขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ภายใต้โครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและ ความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1   การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2   แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2  การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติม ในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1  ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนด
3.2  หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวัง จากการเรียนรู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2  การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับ ปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2  การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่พิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา