การทำแบบตัด

Cutting Pattern

1.1  รู้หลักการเกี่ยวกับการทำแบบตัดขั้นพื้นฐาน   1.2  รู้การวัดตัวเพื่อสร้างแบบตัด   1.3  เข้าใจการสร้างแบบตัด  กระโปรง  เสื้อ  กางเกง  และชุดโอกาสพิเศษ   1.4  เข้าใจการปรับแบบตัด  กระโปรง  เสื้อ  กางเกง  และชุดโอกาสพิเศษ   1.5  มีทักษะในการสร้างแบบตัด  กระโปรง  เสื้อ  กางเกง  และชุดโอกาสพิเศษ  
                   เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน และเนื้อหาให้เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบันสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนด เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะเกี่ยวกับความรู้การทำแบบตัดขั้นพื้นฐาน  เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการทำแบบตัดกระโปรง  การทำแบบตัดเสื้อ  การทำแบบตัดกางเกง  การทำแบบตัดชุดโอกาสพิเศษ  ในรายวิชาอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง  อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานสากล
ปฏิบัติเกี่ยวกับการทำแบบตัดขั้นพื้นฐาน  การทำแบบตัดกระโปรง การทำแบบตัดเสื้อ  การทำแบบตัดกางเกง การทำแบบตัดชุดโอกาสพิเศษ
  -    อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน     -    อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ 
1.1.1   ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.2.1   ให้ความสำคัญในระเบียบวินัยการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การส่งงานตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นตามระเบียบที่เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 1.2.2   บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของการทำแบบตัดเสื้อผ้า  ในรายวิชามีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและสิ่งแวดล้อม 1.2.3    มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นรายบุคคลและเป็นรายกลุ่ม  
1.3.1    การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา  ที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม 1.3.2   ความซื่อสัตว์สุจริตวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 1.3.3   สังเกตพฤติกรรมการเรียนการทำงานกลุ่มและรายบุคคล 
2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.2.1  บรรยาย อภิปราย โดยผู้สอนใช้สื่อที่หลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ทางการสร้างแบบตัด 2.2.2  ให้นักศึกษาปฏิบัติการสร้างแบบตัดเสื้อผ้า  โดยนำหลักการทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ 2.2.3  มอบหมายงานศึกษาค้นคว้ารายบุคคลและรายกลุ่ม
2.3.1  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน   2.3.2  ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติและการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน 2.3.3  แฟ้มสะสมผลงานการทำแบบตัด
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ   3.1.2  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.2.1   ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลตำรา เอกสารและสื่อสังคมกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 3.2.2   มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์การสร้างแบบตัดเสื้อผ้า และสรุปผล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวและกลุ่ม การร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน  การปฏิบัติงานการคิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
 4.1.2  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มในการนำความรู้การสร้างแบบตัดเสื้อผ้า การทำงานแต่ละขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดี อย่างมีประสิทธิภาพ 4.2.2  ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.3.1 ประเมินจากการร่วมจัดกิจกรรมกลุ่ม และการรายงานผลของการจัดกิจกรรม 4.3.2 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ 
5.1.1  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้เทคนิคและประยุกต์การสร้างแบบตัดจากการหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ  5.2.2  นักศึกษาสามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอรูปแบบวิธีการสื่อสารที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพ  
5.3.1 ประเมินจากผลการหาข้อมูลที่ถูกต้องจากวิธีการและสื่อสาร   5.3.2 ประเมินจากอธิบาย  การนำเสนอ และแก้ปัญหาด้านข้อมูลที่เหมาะสม
6.1.1 มีทักษะในการทำตา มแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ  
6.2.1  สาธิตการปฏิบัติการสร้างแบบตัด  ตามขั้นตอนจากแบบและใบงานปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง    6.2.2  ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความปราณีต
6.3.1  ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานที่มอบหมาย 6.3.2  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ134 การทำแบบตัด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 3.1, 5.2, 6.1 การปฏิบัติงานและผลงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1 4.2 การเข้าชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม และผลการทำงาน ทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กระจ่างจิตต์ เขียวขำ.  ตำราตัดเสื้อสตรี ชุดโอกาสพิเศษ. กรุงเทพฯ : พรานนกการพิมพ์, 2544. 2. งานฝึกอบรมศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมดินแดง.   คู่มือการสอนวิชาตัดเย็บเสื้อผ้า . กรุงเทพฯ   : กองอุตสาหกรรมในครอบครัว  กรมส่งเสริม                            อุตสาหกรรม , ม.ป.ป. 3. จิตรพี ชวาลาวัณย์. ตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2549.  4. ชูศรี อรุณไวกิจ. วิทยาการตัดเสื้อสตรี - เสื้อชาย. กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิค, ม.ป.ป. 5. ดวงดาว ท่ามตระกูล. หลักสูตรการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง,  2548. 6. นาโอกิ  วาตานาเบะ.  เทคนิคการวาดภาพแฟชั่นร่วมสมัย. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ ดวงกมลพับลิชซิ่ง,  2553. 7. นิตยา นันทตันติ. ตัดเย็บเสื้อผ้าเบื้องต้น. เชียงใหม่: โรงพิมพ์ดาราวรรณเชียงใหม่, 2542. 8. นุจิรา  รัศมีไพบูลย์. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเสื้อผ้าครอบครัว. กรุงเทพฯ :ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็ม แอนด์ เอ็ม เลเซอร์พริ้นต์. 2553. 9. ปกรณ์ วุฒิยางกูร. คู่มือช่างเสื้อ กรุงเทพมหานคร: พับพิธการพิมพ์, ม.ป.ป. 10. พยุง วงศ์ศศิธร. ตำราตัดเสื้อสตรี เล่มพิเศษ 1. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง (มหาชน), ม.ป.ป. 11. พยุง วงศ์ศศิธร. ตำราตัดเสื้อสตรี เล่มพิเศษ 3. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง (มหาชน), ม.ป.ป. 12. พยุง วงศ์ศศิธร. ตำราตัดเสื้อสตรี. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง (มหาชน),  2533. 13. พรรณงาม  สุวรรณเสวก. เทคนิคการสร้างแบบตัดเสื้อ. กรุงเทพ: โรงพิมพ์พรานนกการพิมพ์, 2542. 14. รสสุคนธ์ พราหมณ์เสน่ห์. ตำราตัดเสื้อสตรีฉบับก้าวหน้า. กรุงเทพฯ: วงศ์สว่างการพิมพ์, ม.ป.ป. 15. วินิทร สอนพรินทร์. การทำแบบตัดและเทคนิคการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ: เกียรติกรการพิมพ์,  2005. 16. วินิทร สอนพรินทร์. การทำแบบตัดและเทคนิคการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพ: เกียรติกรการพิมพ์,  2016. 17. วารุณี วงษา. ศัพท์พื้นฐานการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ: มิตรสยาม, 2534. 18. วาสนา สว่างคำ. ตำราตัดเสื้อสตรี. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์ จำกัด, 2541. 19. สถาบันฝึกอบรมด้านอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม.  การทำแบบตัดเสื้อผ้าอุตสาหกรรม.  กรุงเทพฯ: มูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย,                       ม.ป.ป.   20.  ศรัทธา  แข่งเพ็ญแข.  แบบตัดเสื้อชายสร้างง่ายสไตล์คุณ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2557. 21.  ศรีนวล  แก้วแพรก.  การตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2543. 22. อรทัย  ตั้งสิรินนฤนาท.  เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการทำแบบตัดอุตสาหกรรม 1. กรุงเทพฯ  :  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล                              ธัญบุรี, 2548. หนังสือภาษาต่างประเทศ 23. Bina Abling, Kathleen Maggio.  Integrating Draping, Drafting and Drawing :Bloomsbury Academic, 2008. 24. Bina Abling and Kathleen Maggio. Integrating Draping, Drafting, & Drawing. 2nded. New  York:  Fairchilol  Publication,  2009.   25. Bunka Fashion College.  Guide to Fashion Design.  Japan : Bunka Publishing Bureau,  1991. 26. Dennic Chunman Lo. Pattern Cutting (Portfolio Skills).  London : Laurence King, 2011. 27. Winifred Aldrich.  Metric Pattern Cutting for Women's Wear. 5th ed.  Oxford ; Malden ,MA : Blackwell Pub, 2008. 28. Helen  joseph Armstong.  Patternmarking  for  Fashion  Design. 5th ed. Boston: Prentice Hall,  2009.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้      1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน      1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
 ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา 2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
         หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้      3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด      3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
       ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
     จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 การประชุมกรรมการประจาหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา