การออกแบบแฟชั่น

Fashion Design

รู้และเข้าใจวิธีการเกี่ยวกับการร่างหุ่นคนเพื่อแสดงแบบ การวาดส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์ ส่วนตกแต่งของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย การศึกษาหลักการออกแบบแฟชั่นตามองค์ประกอบเพื่อออกแบบให้เหมาะสมกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการร่างหุ่นคนเพื่อแสดงแบบ การวาดส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์ ส่วนตกแต่งของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย การศึกษาหลักการออกแบบแฟชั่นตามองค์ประกอบเพื่อออกแบบให้เหมาะสมกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากลและเพื่อให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของการออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ จากการศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการร่างหุ่นคนเพื่อแสดงแบบ การวาดส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์ ส่วนตกแต่งของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย การศึกษาหลักการออกแบบแฟชั่นตามองค์ประกอบเพื่อออกแบบให้เหมาะสมกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากล
Practice of drawing human body and fashion illustration,design principle for fashion design, which one based on textile vernacular and universal textiles.
ตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ  
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
มีความรู้และเข้าใจวิธีการวาด โครงสร้างการวาดภาพคนเพื่อแสดงแบบ ศัพท์ทางแฟชั่นเครื่องแต่งกาย แนวความคิดและแรงบันดาลใจในการออกแบบ การเขียนส่วนประกอบและส่วนตกแต่งของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายการออกแบบและพัฒนารูปแบบเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายให้เหมาะสมกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากลอีกทั้งเห็นคุณค่าของงานออกแบบสิ่งทอ
มีความรู้ ความเข้าใจในการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการร่างหุ่นคนเพื่อแสดงแบบ การวาดส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์ ส่วนตกแต่งของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย การศึกษาหลักการออกแบบแฟชั่นตามองค์ประกอบเพื่อออกแบบให้เหมาะสมกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากลและเห็นคุณค่าของการออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์จากการการศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
 
2.2 วิธีการสอน
บรรยาย ยกตัวอย่างปฏิบัติงาน
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน ในชั้นเรียนจากสมุดรวบรวมผลการเรียนรู้
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ต่อกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานการออกแบบแฟชั่นเหมาะสมและสอดคล้องกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากล
3.2.1 บรรยายและอธิบายโดยใช้สื่อการสอน
3.2.2 การให้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลลงใน fashion sketch book
3.3.1 สอบกลางภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และการปฏิบัติงานออกแบบแฟชั่น
3.3.2 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการปฏิบัติงานออกแบบแฟชั่น
3.3.3 การปฏิบัติงานรายบุคคลในห้องเรียนจากสมุดรวบรวมผลการเรียนรู้ Design Fashion Diary (Learning Portfolio)
3.3.4 การปฏิบัติงานรายบุคคลจากการศึกษาค้นคว้านอกเวลาเรียนของงานโครงการออกแบบ
แฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ การศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายบุคคล
4.3.1 การปฏิบัติงานรายบุคคลในห้องเรียนจากสมุดรวบรวมผลการเรียนรู้ Design Fashion Diary (Learning Portfolio)
4.3.2 การปฏิบัติงานรายบุคคลจากการศึกษาค้นคว้านอกเวลาเรียนของงานโครงการออกแบบ
แฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ การศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก หนังสือ วารสาร เอกสาร บทความ งานวิจัยที่ได้มาจากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 จากสมุดรวบรวมผลการเรียนรู้ Design Fashion Diary (Learning Portfolio)
5.3.2 การปฏิบัติงานรายบุคคลจากการศึกษาค้นคว้านอกเวลาเรียนของงานโครงการออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ การศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
6.1 มีทักษะในการปฏิบัติงานในห้องเรียนและนอกห้องเรียนตามที่ได้รับมอบหมายและได้ทักาะเพิ่มเติมจากากรไม่ได้มอบหมาย
6.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก หนังสือ วารสาร เอกสาร บทความ งานวิจัยที่ได้มาจากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
6.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
6.3.1 จากสมุดรวบรวมผลการเรียนรู้ Design Fashion Diary (Learning Portfolio)
6.3.2 การปฏิบัติงานรายบุคคลจากการศึกษาค้นคว้านอกเวลาเรียนของงานโครงการออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ การศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสามารถระหว่างบุคคล ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
1 BAATJ106 การออกแบบแฟชั่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ผู้เรียนได้ พัฒนาความสามารถในการคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ต่อกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานการออกแบบแฟชั่นเหมาะสมและสอดคล้องกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากล สอบกลางภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และการปฏิบัติงานออกแบบแฟชั่น สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการปฏิบัติงานออกแบบแฟชั่น การปฏิบัติงานรายบุคคลในห้องเรียนจากสมุดรวบรวมผลการเรียนรู้ Design Fashion Diary (Learning Portfolio) การปฏิบัติงานรายบุคคลจากการศึกษาค้นคว้านอกเวลาเรียนของงานโครงการออกแบบ แฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ การศึกษาด้วยตนเอง 3 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ การปฏิบัติงานรายบุคคลจากการศึกษาค้นคว้านอก เวลาเรียนของงานโครงการออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิง สร้างสรรค์ สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 10 การปฏิบัติงานรายบุคคลในห้องเรียน 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จากสมุดรวบรวมผลการเรียนรู้ Design Fashion Diary (Learning Portfolio) สัปดาห์ที่ 1-8 และสัปดาห์ที่ 10-15 การปฏิบัติงานรายบุคคลจากการศึกษาค้นคว้านอ สอบกลางภาค 10% สอบปลายภาค 10% การปฏิบัติงานรายบุคคลในห้องเรียน 35% การปฏิบัติงานรายบุคคลจากการศึกษาค้นคว้านอกเวลาเรียนของงานโครงการออกแบบแฟชั่น35% การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงาน 10%
กรมศิลปากร. สมุดภาพแสดงเครื่องแต่งกายตามสมัยประวัติศาสตร์และโบราณคดี. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิวพร,2541. เกสร สุนทรศรี. งานเสื้อผ้าและการแต่งกาย, 2541. นิตยา นวลศิริ. ผ้าทอพื้นบ้านภาคเหนือ. นพวรรณ หมั้นทรัพย์. ออกแบบเบื้องต้น. เชียงใหม่ : บริษัทนครฟิลม์อินเตอร์กรุฟจำกัด, 2551. พวงผกา คุโรวาท. ประวัติเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯอมรการพิมพ์, 2535. ศูนย์สร้างสรรค์การออกแบบ. ความคิดสร้างสรรค์ในไทย. งานสัมมนา กรุงเทพฯ, 9 มิย. 51. รจนา ชื่นศิริกุลชัย. การสร้างนักออกแบบกลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้มีความเป็นอัตลักษณ์ล้านนาต่อการพัฒนาแฟชั่นในระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2557. รจนา ชื่นศิริกุลชัย.ผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอสีธรรมชาติจากว่านยาอูเนะสู่ตลาดญี่ปุ่น. รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2559. รจนา ชื่นศิริกุลชัย. นวัตกรรมสีฟ้าธรรมชาติจากเมล็ดคอคอเด๊าะต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่

ระลึกและแฟชั่นสู่ตลาดสากล. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2559.

http://writer.dek-d.com/jantana59/story/viewlongc.php?id=689654&chapter=16 http://www.tuifino.com/sawhand/sawhand.html
1. การปฎิบัติงาน Project “ออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์” ผู้สอน ได้นำเอาสรุปผลการวิจัยของผู้สอนในเรื่อง การสร้างนักออกแบบกลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้มีความเป็นอัตลักษณ์ล้านนาต่อการพัฒนาแฟชั่นในระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.(2557). นวัตกรรมเส้นใยไหมสีฟ้าธรรมชาติจากเมล็ดคอคอเด๊าะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกและแฟชั่นในระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์. รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.(2559).และผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอสีธรรมชาติจากว่านยาอูเนะสู่ตลาดญี่ปุ่น. รายงานวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.(2559). นำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในครั้งนี้

การดำเนิน งาน Project “ออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทย

ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์” ได้นำเอาแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ของจอห์น ฮอกิ้นส์ (John Howkins) การสร้างเศรษฐกิจด้วยความคิดสร้างสรรค์ให้ประสบความสำเร็จจำเป็นต้องมีโครงสร้างโมเดลพื้นฐานสำคัญที่ทำให้ก่อเกิดความคิดสร้างสรรค์มาจากหลักการ 3 ข้อ
1. ทุกคนสามารถมีความคิดสร้างสรรค์ (Everyone needs Creativity or Everyone can be Creativity)เพราะเชื่อว่าคนเราทุกคนมีความคิดสร้างสรรค์อยู่ในตัวตั้งแต่เด็กๆแล้ว
2. ความคิดสร้างสรรค์ต้องการอิสรภาพ (Creativity needs Freedom)ทั้งนี้ในสังคมที่สนับสนุนให้คนแสดงความคิด และสามารถแสดงออกได้จะช่วยส่งเสริมให้เกิดการศึกษา ฝึกฝน เรียนรู้
3. อิสระภาพความคิดสร้างสรรค์ต้องการตลาด (Freedom needs markets) และสามารถแลกเปลี่ยนนำไปใช้ประโยชน์
3. การดำเนิน งาน Project “ออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์” ได้กำหนดให้นักศึกษาดำเนินการจัดหาที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบแฟชั่นมาเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินงาน Project ของนักศึกษาในครั้งนี้
ให้นักศึกษาทำการค้นคว้าเนื้อหาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องด้านแฟชั่นจากเอกสาร ตำราที่เป็นภาษาอังกฤษเพื่มเติมหรือจากผู้เชี่ยวชาญผู้ที่มีประสบการณ์หรือจากรุ่นพี่ที่ประสบผลสำเร็จในวงการแฟชั่น
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์