เทคโนโลยีการสร้างต้นแบบ

Technology Prototype Making

เนื้อหาวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใช้ในการสร้างต้นแบบ ประเภทของต้นแบบ การคำนวณขนาดของต้นแบบเผื่อการหดตัวและยุบตัว การสร้างต้นแบบด้วยมือการสร้างต้นแบบด้วยเครื่องจักร การวิเคราะห์ต้นแบบ การตกแต่งต้นแบบและการถอดแม่พิมพ์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านการสร้างต้นแบบและประเภทของต้นแบบ การคำนวณขนาดของต้นแบบเผื่อการหดตัวและยุบตัว การสร้างต้นแบบด้วยมือการสร้างต้นแบบด้วยเครื่องจักร การวิเคราะห์ต้นแบบ การตกแต่งต้นแบบและการถอดแม่พิมพ์ และประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องจักรที่ใช้ในการสร้างต้นแบบ ประเภทของต้นแบบ การคำนวณขนาดของต้นแบบเผื่อการหดตัวและยุบตัว การสร้างต้นแบบด้วยมือการสร้างต้นแบบด้วยเครื่องจักร การวิเคราะห์ต้นแบบ การตกแต่งต้นแบบและการถอดแม่พิมพ์
2 ชั่วโมง/สัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
รู้ความสำคัญของการสร้างต้นแบบ ประเภทของต้นแบบ การคำนวณขนาดของต้นแบบเผื่อการหดตัวและยุบตัว การสร้างต้นแบบด้วยมือการสร้างต้นแบบด้วยเครื่องจักร การวิเคราะห์ต้นแบบ การตกแต่งต้นแบบและการถอดแม่พิมพ์
บรรยาย ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีการเขียนแบบ
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการสร้างต้นแบบ
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2 สาธิตการแบ่งส่วนต้นแบบลักษณะ ประเภทต่าง ๆ
3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่ใช้หลักการและการวิเคราะห์การเขียนแบบพื้นฐาน
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายบุคคล
4.2.2 การสอบถาม ซักถามขณะเรียน
4.3.1 ประเมินจากงานที่นำเสนอ
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนองานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 มีการนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลงาน หรือรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
มีการนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากผลงาน หรือรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. ทรงพันธ์ วรรณมาศ. (2532).เครื่องปั้นดินเผา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
2. ปรีดา พิมพ์ขาวขำ.(2541). เซรามิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
3.ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์. (2541).เนื้อดินเซรามิก.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
4. สุขุมาล เล็กสวัสดิ์. (2548).เครื่องปั้นดินเผา พื้นฐานการออกแบบและปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
ถ.Artes Y Oficios. (1994). Pottery : A Step By Step Guide To The Craft of Pottery. London :Merehurst Books
6.Bismarck, Beatrice von. (1993). Impressionist art vol.II. Germany : Ingo F. Walther
7.Brick, Tony.(1996). The Complete Potter’s Companion.Hongkong :Conran Octopus.
8.Chappell, James. (1991). The Potter’s Complete Book of Clay and Glaze. (rev. edit). Newyork: Watson-Guptill Publications
9.Espi, Lorette. (1993). Step-By-Step and Ceramics : A Creative.Newyork : Crescent Books
10. Sentence, Bryan.(2004). Ceramics : A Word Guide To Traditional Techniqes. London : Thames & Hudson.
11.Susan Peterson.(1992). “The Complete Pottery Course “ London : Ebury Press
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์การรับรู้ของ นศ
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์