การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม

Life and Social Skills

1.  เพื่อเสริมสร้างแนวความคิดเจตคติที่ถูกต้องในการดำรงชีวิตของตนเอง การอยู่ร่วมกันในสังคม ตลอดจนวิธีการทำงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     2.  เพื่อนำเอาหลักเกณฑ์เทคนิควิธีไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตและการประกอบสัมมาชีพ
     3.  เพื่อพัฒนาพฤติกรรมและลักษณะนิสัยในการทำงานของนักศึกษาให้เป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดี
      4.   พัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้มีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาวิชาชีพ ตลอดจนมีระเบียบวินัย  ในชีวิตและสังคม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเรื่องแนวคิดเจตคติในการดำรงชีวิตของตนเอง การอยู่ร่วมกันในสังคม ตลอดจนวิธีการทำงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำเอาหลักเกณฑ์เทคนิควิธีไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตและการประกอบสัมมาชีพ รวมไปถึงเพื่อพัฒนาพฤติกรรมและลักษณะนิสัยในการทำงานของนักศึกษาให้เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาวิชาชีพ ตลอดจนมีระเบียบวินัยในชีวิตและสังคม
ศึกษาเกี่ยวกับปรัชญาและหลักธรรมในการดำรงชีวิต และการทำงานของบุคคล การสร้างแนวคิดและเจตคติต่อตนเอง ธรรมกับการสร้างคุณภาพชีวิต บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น การบริหารตนให้เข้ากับชีวิตและสังคม และการปรับตนเพื่อร่วมกิจกรรมทางสังคม ศึกษาเทคนิคการครองใจคน และการสร้างผลผลิตในการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
-อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ  (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้รู้จักสิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีปรัชญาและหลักธรรมในการดำรงชีวิต   และการทำงานของบุคคล การสร้างแนวคิดและเจตคติต่อตนเอง ธรรมกับการสร้างคุณภาพชีวิต บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น การบริหารตนให้เข้ากับชีวิตและสังคม และการปรับตนเพื่อร่วมกิจกรรมทางสังคม ศึกษาเทคนิคการครองใจคน โดยมีคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
           - บรรยายพร้อมซักถามแนวคิดเกี่ยวกับข่าวและสภาพเหตุการณ์ในปัจจุบัน
           - เปิดสื่อวีซีดี
           - อภิปรายกลุ่มเรื่องปัญหาขัดแย้งทางสังคมและกลุ่มต่างๆ
           - ดำเนินกิจกรรมจิตสาธารณะ
- เข้าเรียนตรงเวลา
           - ส่งงานตามที่กำหนด
           - มีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
           - ประเมินจากรูปเล่มรายงานที่ถูกต้องตามระบบการเขียนรายงานและต้องมีเอกสารอ้างอิง
           - นักศึกษาดำเนินกิจกรรมพัฒนาจิต
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
        2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
        2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
           นักศึกษามีความรู้เรื่องความหมาย ความสำคัญของปรัชญาและหลักธรรมในการดำรงชีวิต และการทำงานของบุคคล การสร้างแนวคิดและเจตคติต่อตนเอง ธรรมกับการสร้างคุณภาพชีวิต บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น การบริหารตนให้เข้ากับชีวิตและสังคม และการปรับตนเพื่อร่วมกิจกรรมทางสังคม ศึกษาเทคนิคการครองใจคน และการสร้างผลผลิตในการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
 บรรยาย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอหน้าชั้น การอภิปรายกลุ่ม การวิเคราะห์ข่าวและเหตุการณ์ในปัจจุบัน  โดยมอบหมายให้นักศึกษาต้องอ่านข่าวและติดตามข่าวสังคมโดยการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียน(Student Center) และการเรียนโดยการแก้ปัญหา( Problem base Learning)
- การนำเสนอในชั้นเรียน
           - วิเคราะห์ในชั้นเรียน
           -  มีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
           - ประเมินจากการนำเสนอโดยใช้โปรแกรม Power point
           - ประเมินจากรูปเล่มรายงานที่ถูกต้องตามระบบการเขียนรายงานและต้องมีเอกสารอ้างอิง


           - สอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
      3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ


          การสอนวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมช่วยให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ ไม่ฟังอะไรแล้วตัดสินแต่ต้องหาข้อมูลและฟังแนวคิดของคนอื่นๆ ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี รู้จักบทบาทและหน้าที่ของตนเองตามหลักธรรม เช่น ทิศ 6 ปลูกฝังเจตคติที่ดี
- ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทำงานและนำเสนอผลงานโดยส่งรูปเล่มรายงานก่อนรายงาน 1 สัปดาห์ และนำเสนอรายงาน


          - เชิญวิทยากรภายนอกมาบรรยาย
- การทำงานเป็นทีมและการมีส่วนร่วมของนักศึกษา
           - รูปเล่มรายงาน ถูกต้องตามระบบการเขียนรายงาน เนื้อหาครบถ้วน


           - สอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
4.1  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
       4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
       4.1.2  มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
       4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
       4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม     
                 - พัฒนาทักษะการเป็นผู้นำและผู้ตาม รวมทั้งการทำงานเป็นทีม
                 - พัฒนาทักษะการเคารพสิทธิของผู้อื่น
                 - พัฒนาทักษะความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
                 - พัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้วนตนเอง ทำงานตามที่มอบหมาย ตรงตามกำหนดเวลา


                  - พัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยการนำข่าวมาวิเคราะห์แบบสร้างสรรค์
-จัดการเรียนการสอนแบบกิจกรรมกลุ่มเสริมทักษะในด้านต่างๆ เช่น การทำงานเป็นทีม
-กำหนดปฏิทินเวลานำเสนอ


-ผู้สอนและนักศึกษาช่วยกันเสริมเนื้อหาให้ครบถ้วนโดยใช้Power point ของผู้สอนสรุปเพื่อเพิ่มเนื้อหาให้ครอบคลุม
-ให้เพื่อนนักศึกษาช่วยกันประเมินตามแบบประเมินการนำเสนอ
-ครูประเมินตามแบบการนำเสนอ


-สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของผู้เรียน
5.1  ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
        -พัฒนาทักษะการใช้Internet โดยการสืบค้นข้อมูลจากการวิเคราะห์ข่าวที่ได้ข้อมูลจากหนังสือพิมพ์รายวัน รายสัปดาห์ รายปักษ์และหนังสือพิมพ์อิเลคทรอนิกส์
        - พัฒนาทักษะการใช้โปรแกรม Power point ในการนำเสนอรายงาน


       -พัฒนาทักษะการเลือกรับข้อมูลข่าวสารจากแหล่งสืบค้นต่างๆ      
-ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเนื้อหาจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ สื่ออินเตอร์เน็ต เป็นต้น


        -การนำเสนอรายงานทุกครั้งให้ใช้Computer และ Power point
- ดูจากการทำ Power point นำเสนอผลงาน


       - ดูจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำและการอ้างอิงที่ถูกต้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 01120001 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,2.33.1, 3.2,3.3 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 8 และ 17 60%
2 1.1,1.2,1.3 2.1,2.2,2.3 3.1,3.2,3.3 4.1,4.2,4.3,4.4 อภิปรายกลุ่ม โดยใช้กรณีศึกษาปรัชญาในการดำรงชีวิตจากข่าวหรือเหตุการณ์ปัจจุบัน กิจกรรมกลุ่มระดมสมอง เรื่อง เจตคติที่เหมาะสมในการปฏิบัติตน พร้อมการนำเสนอ กิจกรรมภาระหน้าที่ ที่นักศึกษาพึงปฏิบัติต่อตนเอง ครอบครัว ครู-อาจารย์และเพื่อนพร้อมนำเสนอใบงาน - กิจกรรมกลุ่มระดมสมอง เรื่อง การ ปฏิบัติตนในกิจกรรมทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันพร้อมนำเสนอ - กิจกรรมอภิปรายและมอบหมายงานเดี่ยว/กลุ่มในการพัฒนาจิตสาธารณะ -กิจกรรมกลุ่มระดมสมอง เรื่อง ชีวิตที่มีคุณภาพเป็นอย่างไร พร้อมนำเสนอ กิจกรรมกลุ่มอภิปราย เรื่อง พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ของมนุษย์ พร้อมนำเสนอ กิจกรรมแสดงบทบาทสมมติในการวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล พร้อมนำเสนอ กิจกรรมกลุ่มเสริมทักษะการทำงานเป็นทีม พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้รับจากการทำกิจกรรม กิจกรรม 5 ส ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1,1.2,1.3 จิตพิสัยจากผู้สอน 4%และส่วนกลาง 6% ตลอดภาคการศึกษา 10%
- อนุรีย์ แก้วแววน้อย สุทธิพร บุญส่ง ทรงสิริ วิชิรานนท์ สุวิมล จุลวานิช และโรจน์รวี พจน์พัฒนพล.     การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม.กรุงเทพฯ:ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น,2548, 190 หน้า
-คณะศิลปศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.  เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. บปป.
-กันยา  สุวรรณแสง,  จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 3. กทม. :  สำนักพิมพ์อักษรพิทยา, 2540. หน้า 108 -109.
-สุจิตรา  รณรื่น,  ศาสนาเปรียบเทียบ  กทม. :  บริษัทสหธรรมิก จำกัด, 2538. หน้า 206-207 และหน้า 237-238.
-ณรงค์  เส็งประชา.  สังคมวิทยา.  พิมพ์ครั้งที่  2 ปรับปรุงแก้ไข. กทม : สำนักพิมพ์พิทักษ์อักษร,2537
-สุพิศวง  ธรรมพันทา.  มนุษย์กับสังคม . ดีดีบุ๊คสโตร์. 2540
-ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา .  กทม. :  บ.รุ่งศิลป์การพิมพ์, 2524
-สมพงษ์  เกษมสิน.  การบริหาร.  พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ  :  สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, 2519.
-สุพัตรา  สุภาพ.   สังคมวิทยา.   พิมพ์ครั้งที่  18.   กทม. : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช,  2537
-นิยม  บุญมี.  ครอบครัวสัมพันธ์.  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2534
-ธัญญะ  บุศผเวส และคณะ  จิตวิทยาเบื้องต้น. ขอนแก่น  : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2534
-รามคำแหง, มหาวิทยาลัย จิตวิทยาทั่วไป .พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพมหานคร, โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2523
-วิจิตร  ตระกุล  เทคนิคมนุษยสัมพันธ์.  กรุงเทพฯ  :  โรงพิมพ์พิฆเนศ, 2533
- กฤษณ์  อุทัยรัตน์.  ศาสตร์และศิลป์การบริหารตน.  พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ TPA PUBLISHING, 2541.
-รามคำแหง, มหาวิทยาลัย.  จิตวิทยาทั่วไป .พิมพ์ครั้งที่  4  กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2523.
- สุภวรรณ พันธุ์จันทร์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม พิษณุโลก:ต้นส้มการพิมพ์
-หนังสือพิมพ์
-วารสารทางวิชาการ
การประเมินผลรายวิชานี้จัดทำมหาวิทยาลัยฯโดยมีนักศึกษาเป็นผู้ประเมินผล
      -นักศึกษาเป็นผู้ทำแบบประเมิน
      -นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้
       - สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเรียน การอภิปรายกลุ่มใหญ่
      - สังเกตจากการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
      - ประเมินจากผลการนำเสนอ
      - ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
     การปรับปรุงการสอนวิชานี้คือ
      -แก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัย ทันเหตุการณ์เสมอ ยกตัวอย่างกรณีศึกษาให้ทันสมัย
      -ให้นักศึกษาเพิ่มเติมในสิ่งที่ต้องการเรียนรู้
      -ทำวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม ผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่าพัฒนาก้าวหน้าหรือมีการพัฒนาที่ผิดปกติแก้โดยการขอพบนักศึกษา แจ้งผลการได้รับคะแนนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
-วิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมต้องปรับปรุงเนื้อหาทุก 3 ปี เพราะมีการเปลี่ยนแปลงแนวคิดต่างๆ
     - เชิญวิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้เพิ่มเติม