วิทยานิพนธ์

Thesis

: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. เข้าใจหลักการวางแผนการทดลอง
2. เข้าใจกระบวนการทำการวิจัย
3. เข้าใจหลักการการประมวลผลการวิจัย
4. เข้าใจหลักการเขียนรายงานวิจัย
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ และประสบการณ์ที่ทันต่อเหตุการณ์โดยการนำประสบการณ์ ของผู้สอน และการค้นคว้าข้อมูลที่ทันสมัย มาประกอบเป็นข้อมูลในการสอน
กระบวนการทำงานวิจัย การทำงานทดลอง การเขียนรายงานการวิจัย ในปัญหาเฉพาะทางด้านพืชศาสตร์
อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร  -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา การจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมที่ซับซ้อนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพ และการ แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรมจริยธรรมใน สภาพแวดล้อมของการทำงานและในชุมชน
 
1.2 วิธีการสอน ให้ความรู้โดยการสอดแทรกเนื้อหาด้านคุณธรรมและจริยธรรม กฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆของที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพันธุ์พืชวงศ์แตง เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์ พันธุ์ศาสตร์ประชากรและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพันธุ์พืช
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 ประเมินจากการรับผิดชอบในงาน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม     
1.3.2 ประเมินจากการทำรายงานที่มีการอ้างอิงเอกสาร อย่างถูกต้องและเหมาะสม    
1.3.3 ประเมินจากการสังเกต และซักถามในระหว่างการเรียนการสอน 
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการวางแผนการทดลอง
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทำการวิจัย
2.1.3 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการประมวลผลการวิจัย
2.1.4. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียนรายงานวิจัย
เน้นการเรียนการสอนในด้านหลักการทางทฤษฎีที่ประยุกต์ให้เหมาะสมกับกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ และผลงานวิจัยในปัจจุบัน มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการแนะนำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์
2.3.1 รายงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายและจัดทำ
2.3.2 การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.3 ยื่นเรื่องขอสอบโครงร่างของวิทยานิพนธ์ภายในเทอมที่ลงทะเบียน
3.1.1 ทักษะในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นความรู้ หรือปัญหาที่ซับซ้อน เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ที่สามารถนำไปใช้ในวิชาชีพได้
3.1.2 ทักษะการบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษา ผลการศึกษาวิจัยของผู้อื่น และแนวคิดของ หลักการการทำงานวิจัย 
3.2.1 เปิดโอกาสให้แสดงความคิดโดยการมอบประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษา
3.2.2 ให้แนวคิดในการบูรณาการความรู้ระหว่างการเรียนการสอน และแนะนำให้นำไปใช้ ในการทำวิทยานิพนธ์ 
ประเมินจากการสอบถาม รายงานและความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์
4.1.1 มนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคม
4.1.2 การแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากด้วยตนเอง
4.1.3 การประเมินตนเอง รวมทั้งการวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงานระดับสูง
4.1.4 การมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม และการทำงานเป็นหมู่คณะ  
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือค้นคว้า ข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ 
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
5.1.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุป  และเสนอแนะแก้ไขปัญหา
5.1.2 ทักษะนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
5.1.3 ทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีใน การทำรายงาน
5.1.4 ทักษะใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 
จัดกิจกรรมการวิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และนำเสนอรายงาน          
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ คณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องการอธิบาย และการอภิปรายกรณีศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
1 MSCPT502 วิทยานิพนธ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2, 3, 4 นำเสนองาน ครั้งที่ 1 นำเสนองาน ครั้งที่ 2 นำเสนองาน ครั้งที่ 3 นำเสนองาน ครั้งที่ 4 รายงานผลการฝึกปฏิบัติ 5 8 17 11 15 15 % 25 % 15 % 25 % 5 %
2 1-5 การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
3 1-5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5 %
กิตติพัฒน์ อุโฆษกิจ. 2549. พันธุศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จ. ปทุมธานี. 474 น.
ประดิษฐ์ พงศ์ทองคำ. 2546. พันธุศาสตร์. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 398 น.
                    . 2550. พันธุศาสตร์ประชากรและปริมาณ. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 215 น.
พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์ และ ประเสริฐ ฉัตรวชิระวงษ์. 2548. พันธุศาสตร์เชิงปริมาณที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาพืชไร่นา 250 น.
สมชัย จันทร์สว่าง และพีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์. 2546. พันธุศาสตร์ประชากร. ภาควิชาสัตวบาล  และภาควิชาพืชไร่นา  คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ210 น.
สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์. 2552. การปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 259 น.
Allard. R.W. 1960. Principle of Plant Breeding. John Wiley $ Sons, New York.
Becker, W.A. 1984. Manual of Quantitative Genetics (4 th ed. ). Academic Enterprises,
          Pullman, Washington. 190 p.
Eberhart, S.A. and W.A. Russell. 1966. Stability parameters for comparing varieties,
Crop Sci. 6: 36 – 40.
Daniel L. Hartl and Andrew G. Clark. 1997. Principles of Population Genetics. Third Edition.
          Sinauer Associated, Inc. 542 p.
Falconer, D. S. and T. F.C. Mackey.1996.Introduction to Quantitative Genetics. Longman,
          London. 464 p.
Gardner, C.O. and S.A. Eberhart. 1966. Analysis and interpretation of the variety cross
          diallel and related populations. Biometric 22: 439 – 452.
George Acquaah. 2007. Principles of Plant Genetics and Breeding. Blackwell Publishing Ltd.
          569. P.
Halliburton, R. 2006. Introduction to Population Genetics. Pearson Education, INC,
New Jersey. 650 p.
Kang Manjit S. 2002. Quantitative genetics, genomics, and plant breeding. CABI Publishing.
          400 p.
Li C.C. 1976. First Course in Population Genetics. The Boxwood Press, Pacific Grove, California.
          631 p.
Mather, K. and J.L. Jinks. 1982. Biometrical Genetics: Study of Continuous Variation.
          Chapman and Hall, London. 396 p.
2.1 การปรับปรุงพันธุ์พืช
2.2 หลักการวางแผนการทดลอง    
3.1 การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
3.2 การปรับปรุงพันธุ์พืชวงศ์แตง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา และ ข้อเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 การสังเกตพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมของนักศึกษา
2.2 ผลการทดสอบย่อย
2.3 ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
2.4 ผลการรายงานตามที่ได้รับมอบหมาย
หลังจากได้ผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับความคิดเห็นและความต้องการของนักศึกษาโดยดูจาก แบบทดสอบ และการสอบถาม      
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการตรวจรายงาน และสอบถาม อธิบาย ทำความเข้าใจเป็น รายบุคคล และพิจารณาคะแนนสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม ข้อ 4
5.2 ปรับปรุงรูปแบบของกิจกรรมให้มีความหลากหลายที่มีส่วนทำให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ที่ง่าย และเข้าใจมากขึ้น