พื้นฐานวาดเส้น

Foundation of Drawing

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เรื่องการเขียนภาพจากหุ่นปลาสเตอร์ ตลอดจนการเขียนภาพ สิ่งของ สัตว์และคนด้วยดินสอหรือถ่านชาร์โคล โดยเน้นความถูกต้องตามความจริงในรูปทรง สัดส่วน แสงเงาระยะใกล้ไกลและมีการแสดงออกทางเทคนิคอันเหมาะสม
     1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวของรู้ความหมาย ความเป็นมา และรูปแบบของงานวาดเส้นประเภทต่างๆ
     2. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการ ทฤษฎีทางศิลปะที่นำมาใช้ในงานวาดเส้น และมีทักษะการใช้วัสดุอุปกรณ์ทีใช้ในงานวาดเส้น
     3. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ วิธีการวาดเส้นในรูปแบบเหมือนจริงในองค์ประกอบของรูปร่างรูปทรง สัดส่วน ระยะ แสงเงา ในเนื้อหา หุ่นนิ่งของ                    สิ่งของ สัดส่วนลีลาท่าทางของสัตว์ คน สามารถเลือกใช้เทคนิคในการเขียนได้อย่างเหมาะสม
     4. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวาดเส้นในรูปแบบที่เหมือนจริงในองค์ประกอบของรูปร่างรูปทรง สัดส่วน ระยะ แสงเงา ในเนื้อหา หุ่นนิ่งของ                  สิ่งของ สัดส่วนลีลาท่าทางของสัตว์ และคน โดยใช้เทคนิคในการเขียนได้อย่างเหมาะสม
     5. เพื่อให้นักศึกษามีเจตนคติทีดีและเห็นความสำคัญของงานวาดเส้นที่เป็นพื้นฐานในงานทัศนศิลป์
ศึกษาหลักและวิธีการในการนำเสนองานทางด้านออกแบบนิเทศศิลป์  ตลอดจนหลักและวิธีการใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์   เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการถ่ายทอดความคิดหรือข้อมูล  รวมทั้งรูปแบบของการสื่อความหมายให้ผู้รับเข้าใจ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
     1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฎิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
     2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
     3. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
     4. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฎิบัติงาน
     5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
     1.ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานที่ได้รับมอบหมายภายในเวลาที่กำหนด
     2. บรรยายพร้อมสื่อคอมพิวเตอร์ประกอบ   
     3. บรรยายพร้อมการศึกษาดูงานนอกสถานที่
     1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
     2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายด้วยแบบประเมินงานปฏิบัติ
     3. ประเมินผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบกลางภาคและปลายภาค
       มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวของการเขียนภาพจากหุ่นปลาสเตอร์ ตลอดจนการเขียนภาพ สิ่งของ สัตว์และคนด้วยดินสอหรือถ่านชาร์โคล โดยเน้นความถูกต้องตามความจริงในรูปทรง สัดส่วน แสงเงาระยะใกล้ไกลและมีการแสดงออกทางเทคนิคอันเหมาะสม
     1. บรรยายพร้อมสื่อคอมพิวเตอร์ประกอบ
     2. บรรยายพร้อมการศึกษาดูงานนอกสถานที่
     3. มอบหมายงานปฏิบัติเรื่องการเขียนภาพต่างๆเพื่อให้เกิดทักษะในการวาดเขียน
     4. มอบหมายงานปฏิบัติการเขียนภาพเพื่อให้เกิดทักษะในการวาดเขียน
ประเมินจากผลงานปฏิบัติการสร้างสื่อการนำเสนอที่ได้รับมอบหมาย
2.3.2   ประเมินจากผลงานปฏิบัติการพูดนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3.3   ประเมินจากผลงานปฏิบัติการการายงานผลการศึกษาดูงานนอกสถานที่
              2.3.4   สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความรู้ความเข้าใจและ
3.1.1   มีการพัฒนาด้านความรู้และความเข้าใจและเจตคติ
              3.1.2   สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางทฤษฎี ไปสู่ความเข้าใจ เพื่อการสร้างสรรค์งานให้เกิด
                        ความงามทางสุนทรียศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวาดเขียน
3.2.1   บรรยายพร้อมตั้งคำถามเพื่อสอบถามความคิดเห็น
    3.2.2   มอบหมายงานที่ส่งเสริมความจำ ความรู้ และความเข้าใจ จากการบรรยายและ
การศึกษาดูงานนอกสถานที่
    3.2.3   สังเกตพฤติกรรมจากการศึกษาดูงาน
    3.2.4   สังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติการพูดหน้าชั้นเรียน
    3.2.5   สังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติงานร่วมกลุ่มในชั้นเรียน
3.3.1    สอบเก็บคะแนนด้วยแบบประเมินการพูด
3.3.2    สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก ข้อสอบแบบ
เติมคำและข้อสอบแบบอธิบาย
3.3.3   งานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
4.1.2   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.3   มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
          กำหนดเวลา
4.2.1   ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.2   ให้ความสำคัญในการแบ่งเวลาในการเรียนและการทำกิจกรรมอย่างเหมาะสม
4.3.1   การเข้าห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 16 สัปดาห์  และพิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของ
          นักศึกษา
4.3.2  ประเมินผลจากแบบประเมินตนเอง  ประเมินสถานที่ดูงาน และกิจกรรมกลุ่ม
4.3.3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   สามารถสรุปประเด็นจากการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ได้ถูกต้อง
5.1.2   สามารถเลือกรูปแบบของสื่อการสอน ที่เหมาะสมกับเนื้อหา  ที่แตกต่างกันได้อย่างมี
          ประสิทธิภาพ
5.1.3   มีทักษะในการการเขียนภาพจากหุ่นปลาสเตอร์ ตลอดจนการเขียนภาพ สิ่งของ สัตว์และคนด้วยดินสอหรือถ่านชาร์โคล โดยเน้นความถูกต้องตามความจริงในรูปทรง สัดส่วน แสงเงาระยะใกล้ไกลและมีการแสดงออกทางเทคนิคอันเหมาะสม
5.2.1   สอนแบบบรรยายประกอบสื่อการสอน เช่นตัวอย่างงาน แบบจำลอง สื่อการสอนรสอนโปรแกรมนำเสนอ Powerpoint
5.2.2   สอนแบบบรรยายประกอบการศึกษานอกสถานที่
5.2.3   มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษาส่งงานที่มอบหมาย
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบการวาดเขียน
5.3.1  ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบกลางภาคเรียน
         และปลายภาคเรียน  30 %   
5.3.2   ประเมินผลการทำงานปฏิบัติด้วยคะแนน 60 %
5.3.3   ประเมินผลจิตพิสัย 10 %
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขเเละการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย (ทักษะวิชาชีพ)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BTECE101 พื้นฐานวาดเส้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-3, 4-5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 15% 15%
2 1-5 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ การทำงานและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1-5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. สุชาติ เถาทอง.วาดเส้น.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.2536
2. นงนารถ เมินทุกข์.วาดเขียน.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.2534
3. อัศนีย์ ชูอรุณ.ศิลปะวิชาการ.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.2540
4. โกสุม สายใจ.Drawing.กรุงเทพฯ:สนักพิมพ์ดอเดียนสโตร์.2530
5. ศุภพงศ์ ยืนยง . หลักการวาดภาพ.กรุงเทพฯ.สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.2547
6. อัศนีย์ เชยอรุณ.การวาดรูปอย่างง่ายๆ.กรุงเทพฯ.สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เอ้าส์.2542.
7. Leno Barcsay,Anatomy For Artist Octopus Book .London 152 Pages
1. เอกสารประกอบการศึกษาดูงาน
2. สวนสัตว์เชียงใหม่
3. หอศิลป์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
4. หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการวาดเส้น
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
     1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
     3. ข้อเสนอแนะผ่านfacebook  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
     1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
     2. ผลการเรียนของนักศึกษา
     3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
     1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
     2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
     1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
     2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
     1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือศิลปะและการวาดเส้น