ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสาธารณะและบริการ

Public and Services Industrial Product Design

รู้และเข้าใจการค้นคว้าข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้างกรอบแนวคิดในการออกแบบ  ขนาดสัดส่วนมนุษย์ให้สัมพันธ์กับพฤติกรรมการทำงาน  วัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องกับสาธารณะภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์เพื่อการบริการ มีทักษะการร่างแบบ การเขียนภาพประกอบแบบ การเขียนแบบเพื่อการผลิต และการทำหุ่นจำลอง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ มีความเข้าใจ ปฏิบัติได้ เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการนำความรู้ ความเข้าใจ นำไปปฏิบัติ         ด้านการออกแบบสาธารณะภัณฑ์และผลิตภัณฑ์บริการ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอุตสาหกรรม  ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านวัสดุและกรรมวิธีกาผลิต รวมถึงเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ฝึกปฏิบัติออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสาธารณะและบริการ ค้นคว้าข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้างกรอบแนวคิดในการออกแบบ  ขนาดสัดส่วนมนุษย์ วัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องกับสาธารณะภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์บริการ ตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑือุตสาหกรรม
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 6.3.1, 6.3.2, 6.3.3 การอภิปรายกลุ่ม งานปฏิบัติในชั้นเรียน โครงงาน (Project-Based Learning) ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา 5% 30% 25%
3 1.3.1, 1.3.2,1.3.3 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. ดลต์  รัตนทัศนีย์. ขบวนการออกแบบทางศิลปอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร
               ลาดกระบัง, 2528.
2. ตระกูลพันธ์  พัชรเมธา. การทำหุ่นจำลอง. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2548
3. ตระกูลพันธ์  พัชรเมธา. การนำเสนองานออกแบบอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2548.
4. ธีระชัย  สุขสด. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม . กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2544.
5. นวลน้อย  บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน 
การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์