การยศาสตร์

Ergonomics

    1.1  รู้และเข้าใจทฤษฎีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการยศาสตร์
    1.2  เข้าใจระบบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์
    1.3  เข้าใจขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์
    1.4   เข้าใจการทำงานของกระดูกและกล้ามเนื้อเพื่อการเคลื่อนไหว
    1.5   เข้าใจความสามารถในการมองเห็น ได้ยิน
    1.6   เข้าใจสาเหตุที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการทำงานของมนุษย์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านการยศาสตร์โครงสร้างของร่างกายมนุษย์ ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์เพื่อใช้ในงานออกแบบ เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ  เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ ได้แก่การออกแบบผลิตภัณฑ์  ออกแบบเครื่องเรือน และโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์
ศึกษาเกี่ยวกับระบบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์ ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์ การเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการทำงานของมนุษย์ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับผลิตภัณฑ์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1.1  มีความรู้และเข้าใจวิธีการคิด ระบบการคิด กระบวนการคิด กระบวนทัศน์ทางการคิดเพื่อการออกแบบ
บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
3.2.1   บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมาย  
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียน
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 5.1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่่ เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1.มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2.มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบ วิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ 3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญา 3.3.สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 4.2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่่ดี 4.3.สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
1 BAAID108 การยศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8,16 30% และ 30%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 การนำเสนองาน ผลงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10% และ 20%
3 1.3.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
          นวลน้อย  บุญวงษ์ (2539).  หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
          นิรัช  สุดสังข์ (2548).  ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
          ธีระชัย  สุขสด  (2544). การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
          พรเทพ เลิศเทวศิริ. (2545). Design Education 1 รวมบทความและรายงานการวิจัยศาสตร์แห่งการออกแบบ.
                                          กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
            Henry Dreyfuss Associates (2002).  The Measure of Man and Woman.  New York : John Wiley & Sons.
         Nagamachi, M. Kansei  Engineering :  A new ergonomic consumer-oriented  technology  for  product                                                    development. 
          International  Journal  of  In  dustrisl  Ergonomics. 15 (1995)  P.3-11.
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
- https://www.youtube.com/watch?v=LAKlmdMHpdE
- https://www.youtube.com/watch?v=xXGparpizns
- https://www.youtube.com/watch?v=-CXQAaynOZQ
- https://www.youtube.com/watch?v=Ree1CWifQTg

- https://www.thaihealth.or.th/Content/47896-%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.html
- http://www.sizethailand.org/sizethai.html
- https://www.thefreedictionary.com/Ergonomic+design
- https://www.sciencedirect.com/topics/engineering/ergonomic-design
- https://ergonomicsandhealthcomp1220uwi.weebly.com/ergonomic-design.html
1.1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอน และผู้เรียน
1.2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
2.1. การสังเกตุการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2. ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1. ประชุมเพื่อหาแนวทางการจัดการเรียนการสอน
3.2. สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
4.1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา ดดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชิฯ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกๆ 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
5.2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์