การวิเคราะห์โครงการและแผนงาน

Project and Planning Analysis

เพื่อให้นักศึกษา  มีความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม  การวางแผนและการเตรียมโครงการทางสถาปัตยกรรม  การศึกษา  ความเป็นไปได้ในการลงทุน  โครงการทางสถาปัตยกรรม  สามารถกำหนดองค์ประกอบและพื้นที่ประโยชน์ใช้สอยทางสถาปัตยกรรมให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และงบประมาณของโครงการ
เพื่อปรับปรุงให้เหมาะสมยิ่งขึ้น  ตามผลการประเมินในภาคการศึกษาที่ผ่านมา
          ศึกษาและฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม  การวางแผนและการเตรียมโครงการ  ความเป็นไปได้ในการลงทุน  เพื่อกำหนดแนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรม
-  อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษา
          -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล  หรือรายกลุ่มตามความต้องการ     1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
1)  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม
                   2)  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพสถาปนิก
                   3)  มีวินัย  ขยัน  อดทน  ตรงต่อเวลา  และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
                   4)  เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1)  อบรมนักศึกษาด้านคุณธรรม จริยธรรม
                   2)  จำลองสถานการณ์ หรือนำกรณีศึกษาด้านคุณธรรม จริยธรรมมาถ่ายทอด
                   3)  มอบหมายงานกลุ่มเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
1)  สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน
                   2)  การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายการอย่างถูกต้องและเหมาะสม
                   3)  พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม
                   4)  พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
1)  มีความรู้และความเข้าใจด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา ทั้งด้านการวิเคราะห์โครงการและแผนงานการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ สถาปัตยกรรมและการออกแบบองค์ประกอบของโครงการ
                   2)  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาสถาปัตยกรรม
                   3)  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1)  บรรยาย  อภิปราย จำลองสถานการณ์  สอบถามเพื่อทบทวนความรู้
                   2)  มอบหมายงานกลุ่ม
                   3)  สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1)  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎี
                   2)  ผลงานที่มอบหมายมีความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยี
                   3)  การอภิปรายในชั้นเรียน และการนำเสนอผลงานสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1)  มีทักษะการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1)  บรรยายโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ และกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
                   2)  อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
                    3)  มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
1)  สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล
                   2)  ผลงานที่นำเสนอมีองค์ประกอบความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
1)  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
                   2)  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบ
                   3)  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1)  แบ่งกลุ่มร่วมอภิปราย เพื่อพัฒนาบทบาทผู้นำและผู้ตาม
                   2)  มอบหมายงานกลุ่ม เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์และความรับผิดชอบของนักศึกษา
1)  สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน
                   2)  ประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามจากการทำงานกลุ่มที่มอบหมาย
                   3)  ประเมินการทำงานเป็นทีมจากงานกลุ่มที่มอบหมาย
1)  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
                   2)  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
                   3)  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1)  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
                   2)  ให้นักศึกษาเลือกวิธีการนำเสนอผลงานด้วยวิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
                   3)  ฝึกทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ถูกต้องให้นักศึกษาระหว่างการสอน
1)  ประเมินทักษะการใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมจากผลงานและวิธีการนำเสนอ
                   2)  ประเมินทักษะการสืบค้น  ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมจากผลงานและวิธีการนำเสนองาน
                   3)  ประเมินทักษะการสื่อสารภาษาจากการอภิปรายในชั้นเรียน ผลงานและกรนำเสนองาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน 2. การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายการอย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม 4. พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ 1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎี 2. ผลงานที่มอบหมายมีความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยี 3. การอภิปรายในชั้นเรียน และการนำเสนอผลงานสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 ทักษะทางปัญญา 1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล 2. ผลงานที่นำเสนอมีองค์ประกอบความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ 9 , 15 40%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน 2. ประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามจากการทำงานกลุ่มที่มอบหมาย 3. ประเมินการทำงานเป็นทีมจากงานกลุ่มที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ประเมินทักษะการใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมจากผลงานและวิธีการนำเสนอ 2. ประเมินทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมจากผลงานและวิธีการนำเสนองาน 3. ประเมินทักษะการสื่อสารภาษาจากการอภิปรายในชั้นเรียน ผลงานและกรนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา 5%
          1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการวิเคราะห์โครงการและแผนงาน
          2. หนังสือ ตำราอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงการและการวางแผนงาน
          3. หนังสือตำราอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับ การทำรายละเอียดโครงการหรือการออกแบบสถาปัตยกรรม
          4. หนังสือตำราอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
เอกสารการสอน สาขาชาวิทยาการจัดการ. การวิเคราะห์โครงงาน (PROJECT ANALYSIS). สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 (พิมพ์ครั้งที่ 4) เอกสารการสอน  สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. การศึกษาความเป็นไปได้และการวิเคราะห์โครงการ (FEASIBILITY STUDIES AND PROJECT ANALYSIS).  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 (พิมพ์ครั้งที่ 4). เอกสารการสอน สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. ประสบการณ์วิชาชีพการจัดการงานก่อสร้าง. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, กรุงเทพฯ 2534.
          -
          การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้  ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
          1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          1.2  แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
 
          ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
          2.1  การสังเกตของผู้สอน
          2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
          2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
          หลังจากการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดทำกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
          4.1  มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา
          4.2  มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบและผลสอบ
          4.3  แจ้งผลการประเมินผลการสอบ การรายงาน การนำเสนอและคะแนนให้นักศึกษาทราบ
          จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
          5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          5.2  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์
          5.3  เชิญวิทยากร ผู้ประกอบวิชาชีพ สถาปนิก เข้าร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนทัศนคติในการประกอบวิชาชีพกับนักศึกษา