วิทยาการเมล็ดพันธุ์

Seed Technology

1.จุดมุ่งหมายของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
          1) รู้เกี่ยวกับการกำเนิดและองค์ประกอบของเมล็ด
          2) รู้เกี่ยวกับการงอกและการพัฒนาของเมล็ด
          3) เข้าใจการผลิต การเก็บเกี่ยว และการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์
          4) เข้าใจการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์
          5) เข้าใจวิธีการตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐานสากล

 
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิทยาการเมล็ดพันธุ์ อันเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาการเมล็ดพันธุ์ไปใช้ในการผลิตพืชและการผลิตเมล็ดพันธุ์ โดยมีการนำเอาผลงานวิจัยใหม่ๆ มาเพิ่มเติมในเนื้อหาของรายวิชา ให้สอดคล้องกับการพัฒนาด้านวิทยาการเมล็ดพันธุ์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์ตั้งแต่การปลูก การเก็บเกี่ยว จนกระทั่งถึงการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เพื่อนำไปปลูกในฤดูต่อไป กำเนิดของเมล็ดพันธุ์ องค์ประกอบของเมล็ด การงอกและการพัฒนาของเมล็ด การเก็บเกี่ยว การตากและนวด การปรับสภาพเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ การรับรองเมล็ดพันธุ์ กฎหมายเมล็ดพันธุ์ โรคที่ติดต่อกับเมล็ดพันธุ์ การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐานสากล การผลิตและสถานภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ในประเทศไทย
 
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล      จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ผู้สอนเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยอาจารย์จะแจ้งวันเวลาให้นักศึกษาทราบหรือเมื่อนักศึกษานัดหมาย  
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. ฝึกการมีการช่วยเหลือเพื่อน อาจารย์  ความพร้อมเพรียงในกิจกรรม
 2.ฝึกให้มีความซื่อสัตย์ในการสอบ ทำการบ้านการอ้างอิงเมื่อนำผลงานของผู้อื่นมาใช้
3.ฝึกการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา การร่วมกิจกรรม การแต่งกายตามระเบียบ มีวินัย ขยัน อดทน
4.ฝึกให้รู้หน้าที่การเป็นผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม 1.ประเมินจากการมีวินัย ความพร้อมเพรียงในกิจกรรม
2.สังเกตจากงานมอบหมาย
3.ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา  การร่วมกิจกรรม การแต่งกายตามระเบียบ
4.สังเกตจากความรับผิดชอบในหน้าที่ๆได้รับมอบหมาย และการแสดงออก
1. ฝึกการมีการช่วยเหลือเพื่อน อาจารย์  ความพร้อมเพรียงในกิจกรรม
 2.ฝึกให้มีความซื่อสัตย์ในการสอบ ทำการบ้านการอ้างอิงเมื่อนำผลงานของผู้อื่นมาใช้
3.ฝึกการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา การร่วมกิจกรรม การแต่งกายตามระเบียบ มีวินัย ขยัน อดทน
4.ฝึกให้รู้หน้าที่การเป็นผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม
1.ประเมินจากการมีวินัย ความพร้อมเพรียงในกิจกรรม
2.สังเกตจากงานมอบหมาย
3.ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา  การร่วมกิจกรรม การแต่งกายตามระเบียบ
4.สังเกตจากความรับผิดชอบในหน้าที่ๆได้รับมอบหมาย และการแสดงออก
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
š2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง  
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
3.การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง   ปฏิบัติการจริง
   
1.ประเมินจากผลการปฎิบัติงาน แต่ละบทปฏิบัติการ
2.สังเกตจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3.สังเกตจากการนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 โดยมอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
3.การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง   ปฏิบัติการจริง
1.ประเมินจากผลการปฎิบัติงาน แต่ละบทปฏิบัติการ
2.สังเกตจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3.สังเกตจากการนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 โดยมอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills)
š3.1มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  
1. กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
2.การอภิปรายกลุ่ม
แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานในงานที่ได้รับมอบหมาย  
1.ประเมินจากการปฎิบัติกิจ กรรม และการแสดงความคิดเห็นในสถานการณ์จริง
2.สังเกตจากการสนทนา การถาม การตอบ การรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
 
 
 
 
1. กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
2.การอภิปรายกลุ่ม
แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานในงานที่ได้รับมอบหมาย
1.ประเมินจากการปฎิบัติกิจ กรรม และการแสดงความคิดเห็นในสถานการณ์จริง
2.สังเกตจากการสนทนา การถาม การตอบ การรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
 
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills)
š3.1มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  
1. กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
2.การอภิปรายกลุ่ม
แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานในงานที่ได้รับมอบหมาย  
1.ประเมินจากการปฎิบัติกิจ กรรม และการแสดงความคิดเห็นในสถานการณ์จริง
2.สังเกตจากการสนทนา การถาม การตอบ การรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
 
 
 
1. จัดกิจกรรมทำงานกลุ่ม
1.ประเมินจากพฤติกรรม และการแสดงออกในการปฏิบัติงานและเข้าสังคม
2. สังเกตภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
3.ประเมินจากพฤติกรรมและการจัดการข้อขัดแย้งในการร่วมกิจกรรม
4.สังเกตจากกิจกรรมที่มีส่วนร่วมในสังคม
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communicationand Information Technology Skills)
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ได้วิเคราะห์ และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
   - การนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษา   ที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
- ในการค้นคว้านั้น ส่วนหนึ่ง นักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง
- กำหนดให้มีการนำเสนอในรูปแบบของ PowerPoint
  1.สังเกตการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2.ประเมินประสิทธิภาพจากงานมอบหมาย
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ
 
3.สังเกตการใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
 
1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ได้วิเคราะห์ และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
   - การนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษา   ที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
- ในการค้นคว้านั้น ส่วนหนึ่ง นักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง
- กำหนดให้มีการนำเสนอในรูปแบบของ PowerPoint
1.สังเกตการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2.ประเมินประสิทธิภาพจากงานมอบหมาย
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ
 
3.สังเกตการใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 21011319 วิทยาการเมล็ดพันธุ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การแสดงความคิดเห็น/พฤติกรรมในชั้นเรียน กิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยันและอดทน การทดสอบย่อย การแสดงความคิดเห็น/พฤติกรรมในชั้นเรียน กิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยันและอดทน การทดสอบย่อย 1-7,9-15 10 %
2 งานมอบหมายการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ และงานผลิตเมล็ดพันธุ์ งานมอบหมายการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ และงานผลิตเมล็ดพันธุ์ ทุกสัปดาห์ 30%
3 การสอบกลางภาค การสอบกลางภาค 9 20%
4 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.3 5.1 5.2 5.3 รายงานกลุ่มนำเสนอผลการค้นคว้ารายงานการปฏิบัติงานมอบหมาย 16 10% รายงานกลุ่มนำเสนอผลการค้นคว้ารายงานการปฏิบัติงานมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 10%
5 สอบปลายภาค สอบปลายภาค 17 20%
6 จิตพิสัยในวิชา การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา จิตพิสัยกลาง จิตพิสัยในวิชา การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา จิตพิสัยกลาง ทุกสัปดาห์ 10%
จวงจันทร์ ดวงพัตรา.  2529.  เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ.  210 น.   วันชัย จันทร์ประเสริฐ.  2542.  เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  276 น.
จวงจันทร์ ดวงพัตรา.  2529.  เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ.  210 น.   วันชัย จันทร์ประเสริฐ.  2542.  เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  276 น.
  ชยพร แอคะรัจน์.  2546.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์.  ฐานเกษตรกรรม, กรุงเทพฯ.  197 น.   เดชา บุญมลิซ้อน กุศล เอี่ยมทรัพย์ และชุมพร ถาวร.  2548.  การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเก็บรักษาและผลิตเมล็ดพันธุ์พืช.  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.  30 น.   ธีรศักดิ์ แสงเพ็ง.  2551.  ผลของการเคลือบ polymer ต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ผักบางชนิด.  ปัญหาพิเศษปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน (วท.บ. (เกษตรศาสตร์))--มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.  31 น.   นงลักษณ์ ประกอบบุญ.  2528.  การทดสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์.  โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.  316 น.   บุญนาค วิคแฮม.  2523.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์ ตอนที่ 2.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.  112 น.   ประนอม ศรัยสวัสดิ์.  2549.  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.  116 น.   ลำใย โกวิทยากร.  2523.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์ ตอนที่ 1.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.  112 น.   วัลลภ สันติประชา.  2538.  บทปฏิบัติการเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.  227 น.   วัลลภ สันติประชา.  2540.  เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.  212 น.   สมชาติ โสภณรณฤทธิ์.  2535.  การอบแห้งเมล็ดธัญพืช.  คณะพลังงานและวัสดุ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.  378 น.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึงวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและ
นอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
 
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์  ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
 
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
 
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหา
ที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป