ศิลปะร่วมสมัย

Contemporary Art

1 รู้ความหมายและแนวความคิดของงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
2 เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะทางด้าน รูปแบบ และเทคนิควิธีการของงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
3 สามารถบรรยายเชิงวิชาการ วิเคราะห์ วิจารณ์ ผลงานสร้างสรรค์ในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)ทั้งในโลกตะวันตก และเอเชียได้
4 สามารถเข้าใจแนวความคิดและรูปแบบของงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)ในแต่ละลัทธิต่างๆได้ๆ
5 เห็นคุณค่าของผลงานศิลปะทุกแขนงทางด้านทัศนศิลป์ในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
1 นักศึกษามีความรู้เชิงวิชาการในด้านแนวความคิด เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย
(Contemporary Art)
2 นักศึกษามีการบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ และเขียนรายงาน ในการสร้างสรรค์เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)ในแต่ละยุคสมัยได้
3 สามรถเข้าใจบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อรูปแบบ และแนวความคิดของศิลปินในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
4 นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ต่อการปฏิบัติในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในสาขาวิชาเอกต่อไปได้
ศึกษาความหมายของงานศิลปะร่วมสมัยเพื่อเข้าใจ รูปแบบ เนื้อหา เทคนิคและกระบวนการ
สร้างสรรค์ผลงาน
4 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2.มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
              พัฒนานักศึกษาให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา มีความรักในวิชาเรียน รักที่จะฝึกฝนค้นคว้าตามกระบวนการของวิชาทางด้านทัศนศิลป์ มีการศึกษาค้นคว้าให้ประสบผลสำเร็จโดยความเพียร มีความซื่อสัตย์ สามารถศึกษาในรายวิชาร่วมกันด้วยความรักความสามัคคี
-ให้นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบรายบุคคล ได้ทดลองบรรยายเชิงวิชาการได้มีการกำหนดเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในการสร้างสรรค์เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)ในแต่ละยุคสมัยได้
-ต้องเข้าชั้นเรียนเพื่อวิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน
-นักศึกษาต้องมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 
       นักศึกษามีความรู้เชิงวิชาการในด้านความหมายเกี่ยวกับทัศนศิลป์ในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) และมีความรู้จากการค้นคว้าและบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
       มีความรู้ทางด้านทัศนธาตุต่างๆ ในศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ผ่านเทคนิควิธีการของงานศิลปินในลัทธิต่างๆ อีกทั้งมีความรู้ในเรื่องของ แนวความคิด รูปแบบ และเทคนิควิธีการในการสร้างสรรค์ ของศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)ทั้งในโลกตะวันตกแลในเอเชียโดยสามารถประยุกต์ไปใช้ต่อในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในสาขาวิชาเอกต่อไปได้
-ให้ความรู้กับนักศึกในเชิงทฤษฏี เป็นการเกริ่นนำในเรื่องความสำคัญ และความหมายของทัศนศิลป์ในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
-บรรยายผ่านสื่อสาระสนเทศ โดยมีเนื้อหาแนวคิด พร้อมภาพประกอบ เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)โดยเริ่มต้นจากยุคโมเดิร์นอาร์ตModern Art มาจนถึงยุคปัจจุบัน
-ให้นักศึกษาได้แบ่งกลุ่มทำรายงานและบรรยายจากการค้นคว้าแต่ศิลปะยุคสมัยใหม่มาจนถึงยุคปัจจุบันวิเคราะห์ วิจารณ์ ในเรื่อง ศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ร่วมกัน
-วิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การเข้าบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อแนวความคิดและรูปแบบ ในงานศิลปะร่วมสมัย
-ประเมินจากการพูดบรรยายหน้าห้องเรียนและการเขียนรายงาน ในเชิงวิชาการของนักศึกษา ทั้งงานกลุ่ม และส่วนบุคคล โดยกำหนดหัวข้อต่างๆที่เกี่ยวกับศิลปะร่วมสมัย -ประเมินจากการสามารถวิเคราะห์ผลงานศิลปะของศิลปินในยุคสมัยใหม่ มีความรู้เกี่ยวกับแนวความคิด รูปแบบและเทคนิค วิธีการที่นำเสนอของานศิลปะในยุคสมัยใหม่ได้ -ประเมินทางด้านความขยันและรับผิดชอบ ส่งงานตามกำหนดเวลา
-ประเมินจากผลคะแนน สอบกลางภาค และปลายภาค
-ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการเรียน วิพากษ์ วิจารณ์ และการเข้าชั้นเรียน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 
-นักศึกษาต้องมีความรู้เชิงวิชาการในด้านความหมายและความสำคัญเกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
-นักศึกษาต้องมีความสามารถวิเคราะห์ ในการแสดงออกทางศิลปะของศิลปินใน
ยุคสมัยใหม่ มีความเข้าใจในทัศนธาตุต่างๆรวมไปถึงการแทนค่าในเชิงสัญลักษณ์ซึ่งศิลปินในแต่ลัทธิทางศิลปะนำเสนอผ่านผลงานอันหลากหลาย
-นักศึกษาสามารถนำความรู้ในเชิงทฤษฎี เพื่อพัฒนาไปใช้ประโยชน์ในการลงมือปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของตนอย่างเป็นเฉพาะตัว
-กำหนดให้นึกศึกษาได้มีทักษะในการพูด บรรยาย เพื่อวิเคราะห์ผลงาน เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
-กำหนดให้มีการวิจารณ์ผลงานศิลปะของศิลปินในยุคสมัยใหม่ เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะระหว่างเพื่อนในชั้นเรียน
-แนะนำให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง โดยศึกษาจากศิลปินสำคัญในยุคสมัยให่มมาจนถึงยุคปัจจุบัน
-ประเมินจากทักษะในการพูด บรรยาย เพื่อวิเคราะห์ผลงาน เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)ได้
-ประเมินจากการเขียนบทความ รายงาน ผลงาน เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย
(Contemporary Art)ได้ -ประเมินจากทัศนะส่วนบุคคลที่มีคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
                  สามารถวิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน และมีความเคารพตนเองและผู้อื่น โดยสามารถศึกษาค้นคว้า บรรยาย และเขียนรายงานเป็นกลุ่มได้ สร้างความรัก ความสามัคคีกันในชั้นเรียน
-ให้นักศึกษาสามารถ รับฟังคำวิจารณ์จากผู้อื่นได้
-สอนให้เห็นความสำคัญของความแตกต่างกันไปแต่ละบุคล
-กำหนดการบรรยาย การเขียนรายงานเชิงวิชาการเป็นกลุ่ม เพื่อสร้างความสามัคคี
-ประเมินผลจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
-ประเมินผลจากความรู้ ความเข้าใจที่ได้จากการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้เรียน
-ประเมินผลจากการกำหนดให้ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
         เพิ่มทักษะความรู้ ความเข้าใจที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและให้ความรู้ความเข้าใจในเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
-นำเสนอตัวอย่างความรู้ ความชำนาญเกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย(Contemporary Art)รวมทั้งตัวอย่างผลงานของศิลปินที่มีชื่อเสียงจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
-นำเสนอภาพผลงานศิลปะ เทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
-มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
-ประเมินผลความรู้ความเข้าใจจากผลงานที่สร้างสรรค์ตามเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ
-ประเมินผลจากการมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีทักษะในการค้นคว้าหาความรู้ เกี่ยวกับงานสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ได้อย่างมีความเข้าใจ มีทักษะในการวิเคราะห์ผลงานศิลปะร่วมสมัย แยกแยะลักษณะเฉพาะของลัทธิต่างๆได้ มีทักษะในการพูดอธิบายความรู้ได้อย่างเหมาะสม สามารถวิเคราะห์ความแตกต่างในการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินในศิลปะร่วมสมัยได้ มีทักษะในการเขียนบทความเกี่ยวกับศิลปะร่วมสมัยได้อย่างชัดเจน

 
สร้างเจตคติที่ดีต่อองค์ความรู้ในศิลปะร่วมสมัย กระตุ้นให้นักศึกษาเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการวิเคราะห์และฝึกปฏิบัติทำรายงาน รวมไปึงการนำเสนอทางวิชาการ
ประเมินจากการปฏิบัติค้นคว้าหาข้อมูลของนักศึกษา ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบข้อเขียน กลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. มีทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย 2. มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละบุคคลถนัดได้ 3. สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน 5. มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
1 41000019 ศิลปะร่วมสมัย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 รู้ความหมายและประเภทของงานศิลปะทางด้านศิลปะร่วมสมัย ประเมินจากการวิเคราะห์และบรรยายผลงานทางด้านศิลปะร่วมสมัย 1-9 40%
2 เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัย สามารวิเคราะห์แนวความคิดและรูปแบบทางศิลปะได้ ประเมินจากการเขียนรายงานเชิงวิชาการทางด้านศิลปะร่วมสมัยและสอบปลายภาค 10-17 50%
3 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 1-17 10%
รศ.จิระพัฒน์ พิตรปรีชา.โลกศิลปะศตวรรษที่20.กรุงเทพ:สำนักพิมพ์เมืองโบราณ,2552
รศ.อิทธิพล ตั้งโฉลก.แนวทางการสอนและสร้างสรรค์จิตรกรรมขั้นสูง.กรุงเทพ:สำนักพิมพ์อัมรินทร์ ปริ้นติ้ง,2550
คอตติงตัน,เดวิด. ศิลปะสมัยใหม่:ความรู้ฉบับพกพา.กรุงเทพ:โอเพ่นเวิลด์ส,2554
หนังสือศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่9,พิมพ์ครั้งที่2 .กรุงเทพ:อัมรินทร์ปริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง,2540
 
ศาสตราจารย์ กำจร สุนพงษ์ศรี. หนังสือศิลปะสมัยใหม่ .สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2554
-สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเมื่อเสร็จสิ้นในเนื้อหานั้น
-นักศึกษาประเมินการสอนในคอมพิวเตอร์
-ประเมินการสอนโดยผู้บริหารของภาค หรือสาขาวิชา
-จัดประชุมคณะอาจารย์ ระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน
-สรุปผลการประเมินการสอนจากนักศึกษา
-ประชุมคณะอาจารย์แจ้งผลการประเมิน แสดงความคิดเห็นเพื่อพัฒนาการสอน
-จัดประชุม สัมมนาคณะอาจารย์เพื่อพัฒนาเทคนิคใหม่เกี่ยวกับการสอน
-มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา
-มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบ และผลสอบ
-ให้นักศึกษาตรวจสอบคะแนน ผลคะแนนจากฝ่ายทะเบียนได้
-นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนานำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป