การบัญชีเพื่อการจัดการ

Accounting for Management

1. เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบถึงบทบาทและความสำคัญของการบัญชีเพื่อการจัดการ และสามารถจำแนกข้อแตกต่างระหว่างบัญชีเพื่อจัดการและบัญชีการเงินได้
          2. เพื่อให้นักศึกษาใช้ประโยชน์ของงบการเงิน ตลอดจนการจัดประมาณตามแผนงานได้
          3. เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงแนวคิดเกี่ยวกับต้นทุนตลอดจนการวิเคราะห์ต้นทุนเพื่อการตัดสินใจและควบคุมการดำเนินงานทางการบริหาร
          4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ทางบัญชีมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์แก้ปัญหาต่างๆ สำหรับธุรกิจที่ประสบปัญหาเพื่อใช้การจัดการกำไรแก่ธุรกิจ
          5.เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อจรรยาบรรณทางธุรกิจ
1. เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
          2. เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี และเศรษฐกิจของประเทศ
ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการบัญชีเพื่อการจัดการ การใช้ประใยชน์ของงบการเงิน การจัดทำงบประมาณตามแผนงาน แนวคิดเกี่ยวกับต้นทุน พฤติกรรมต้นทน การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณและกำไรการนำต้นทุนไปใช้ในการตัดสินใจและควบคุมการดำเนินงานทางธุรกิจ
3.1 จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ เป็นรายชั่วโมง 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
3.2 ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิคส์ โดยแจ้งหมายเลขสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้แก่นักศึกษา
มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
                   - ตระหนักถึงความซื่อสัตย์สุจริตของนักบัญชี
                   - มีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
1.) บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง นักธุรกิจ และธุรกิจทีประสบความสำเร็จในการบริหารงาน
2.) การอภิปรายกลุ่ม – บุคคล
3.) ทำกรณีศึกษา การใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อช่วยในการควบคุมและตัดสินใจดำเนินงานของธุรกิจกลุ่มต่างๆ
1.) สังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนด
                                2.) ประเมินผลการอภปรายรายกลุ่ม – บุคคล
                   3.) ประเมินผลงานการนำเสนอกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
1.) มีความรู้และเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการและวิธีการทางการบัญชี
                   2.) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้วนการจัดการ
                   3.) มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิตการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยวิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
                    4.) สามารถติดตามการปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัยและวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่องบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
1.) บรรยาย อภิปรายพร้อมยกตัวอย่าง แนวคิด ทฤษฏี หลักการและวิธีการทางบัญชี
  2.) อธิบาย มอบหมายงานเดี่ยว – กลุ่ม ให้หากลุ่มรัฐวิสาหกิจชุมชมเพื่อพฒนาองค์ความรู้ด้านบัญชีที่นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3.) ฝึกปฏิบัติกรณีศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคการปฏบัติงานด้านบัญชีบรรยาย อภิปรายการทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาและมอบหมายให้ทำงานกลุ่ม
1) ประเมินผลจากการส่งแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย
2) การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค
3) สังเกตพฤติกรรม การทำงานร่วมกับผู้อื่น และการแก้ไขปัญหา
4) เสนอความคิดเห็นระหว่างเรียน
1.) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลผลข้อมูลและแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
                   2.) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชี และด้านอื่นๆ ที่สัมพันธ์กันใช้ทักษะทางวิชาชีพ และดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
                   3.) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
1) บรรยาย  ยกตัวอย่าง และการถาม-ตอบในชั้นเรียน
2) การทำแบบฝึกหัดโดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา แบบระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ในแบบรายบุคคลและรายกลุ่มย่อย
3) การจัดกลุ่มสรุปความรู้ เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วม
1) การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค
2) วัดผลจากการค้นคว้าและการนำเสนอรายงานประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
3) สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4) เสนอความคิดเห็นระหว่างเรียน
1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่รับมอบหมายได้ ตามข้อตกลงที่กำหนดไว้
- สามารถปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มเรียนตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย
1) จัดกลุ่มย่อยวิเคราะห์โจทย์ปัญหา โดยมีการสลับหมุนเวียนให้แต่ละกลุ่มรับผิดชอบในนำอภิปรายและนำเสนอคำตอบการแก้ปัญหาโจทย์ในชั้นเรียน
1) ประเมินจากการนำอภิปรายและนำเสนอคำตอบการแก้ปัญหาโจทย์ในหน้าชั้นเรียน
2) สังเกตพฤติกรรมในการเข้ากลุ่ม
3) ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
1) มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
                                -ใช้ทักษะการคำนวณเชิงคณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา
                   -มีความสามารถในการแปลความหมายจากผลของการคำนวณ
                   -มีความสามารถนำผลของการแปลความมาใช้ในการบันทึกบัญชีและจัดทำรายงานการเงินได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
1) ฝึกทักษะการวิเคราะห์และแก้โจทย์ปัญหา จากระดับที่แบบระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ในแบบรายบุคคลและรายกลุ่มย่อย
 
1) ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2..ด้านการเรียนรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านการวิเคราะห์ ตัวเลขการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3.
1 11012301 การบัญชีเพื่อการจัดการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,5 สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน 8,17 30%,30%
2 2,3,5 สอบย่อยปฏิบัติ 3,9 20%
3 2,3,4,5 งานแบบฝึกปฏิบัติที่มอบหมาย การมีส่วนร่วมในการอภิปราย ทุกสัปดาห์ 15%
4 1,2,3,4,5 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและการแต่งกายให้ถูกระเบียบ ทุกสัปดาห์ 5 %
รองศาตราจารย์ศรีสุดา อาชวานันทกุล, การบัญชีบริหาร.กรุงเทพมหานคร: ทีพีเอ็น เพรส, 2557.
เบญจมาศ อภิสิทธิ์ภิญโญ, การบัญชีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2555. เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค์, การบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2554. วันชัย ประเสริฐศรี, การบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: ทีพีเอ็นเพรส, 2550. สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์, หลักการบัญชีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: แมคกรอฮิลล์(ประเทศไทย),2551.

เสนีย์ พวงยาณีและคณะ, การบัญชีการเงิน.กรุงเทพมหานคร: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2553.
ข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวทางวิชาชีพบัญชี ได้แก่ประกาศเกี่ยวกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รายงานทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้จาก เว๊ปไซต์ ต่อไปนี้
www.fap.or.th
www.dbd.go.th
www.set.or.th
1) ให้นักศึกษาประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ตามแบบประเมินของมหาวิทยาลัย
1) พิจารณาจากผลคะแนนการสอบ
2) พิจารณาจากงานที่มอบหมายให้
3) พิจารณาจากพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
1) นำผลการประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษาและผลประเมินการสอน มาพิจารณาการปรับปรุงการสอน
2) ผู้สอนควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เข้ารับการอบรมสัมมา ในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาการสอน
1) การทวนข้อสอบและเกณฑ์ที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้
1) นำเอาผลการประเมินข้อ1 และข้อ2 มาวิเคราะห์และหาแนวพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้