เครื่องมือเก็บเกี่ยวและหลังการเก็บเกี่ยว

Harvest and Post-Harvest Machinery

:  เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1.1 มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับโครงสร้าง และชิ้นส่วนของเครื่องมือเก็บเกี่ยวได้
1.2 มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับเครื่องนวดได้
1.3 มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับเครื่องสีได้
1.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับเครื่องทำความสะอาดได้
1.5 มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับเครื่องคัดขนาดได้
1.6 มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับเครื่องลดขนาดได้
1.7 มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการใช้ การปรับแต่งและการบำรุงรักษาได้
:  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการของเครื่องมือเก็บเกี่ยวและหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง และชิ้นส่วนของเครื่องมือเก็บเกี่ยว เครื่องนวด เครื่องสี เครื่องทำความสะอาด เครื่องคัดขนาด เครื่องลดขนาด การใช้การปรับแต่ง และการบำรุงรักษา
 
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล   
    3.1 วันพุธ  เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง อาคารปฏิบัติการเครื่องจักรกลเกษตร โทร 055-298438 (1177)
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
1.2 อภิปรายกลุ่มและฝึกปฏิบัติงานจริง
1.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
 ˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 ˜  2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 ˜ 2.3 สามารถวัดและประเมินผลด้านการเรียนรู้
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  ทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ  และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ฝึกปฏิบัติงานจริงตามหน่วยเรียน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2.2   ประเมินจากการนำเสนองานในการฝึกปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยเรียน
.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
š 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
.1 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติงานในพื้นที่จริง ตามหัวข้องานในแต่ละหน่วยเรียน และการนำเสนอผลงาน
3.2   อภิปรายกลุ่ม
3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility)
š 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 4.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3   การนำเสนอรายงาน
4.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication and Information Technology Skills)
š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜ 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6. ด้านทักษะพิสัย
 (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
˜ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜ 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
.1 ฝึกปฏิบัติการในห้องทดลอง
6.2 ฝึกปฏิบัติภาคสนาม ลงมือปฏิบัติและทดสอบเทคนิคการทำงานจริง จากสื่อสนับสนุนการเรียนการสอนตามหัวข้อบทเรียน
6.3 การใช้เครื่องมือ การวิจัย เป็นทักษะทางปัญญา
6.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน
6.2 ประเมินจากทักษะการใช้เครื่องมือ หรือสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.3 ประเมินจากการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ Learning Outcome วิธีการประเมินผล สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3, 6.1, 6.2, 6.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ การทดสอบย่อย ทุกสัปดาห์ 35% การสอบกลางภาค 8 15% การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20% การสอบปลายภาค 16 20% รวม 100 %
   ประชุม เนตรสืบสาย และพันทิพา อันทิวโรทัย.  2526.  เครื่องทุ่นแรงฟาร์มภาค 1.
            ศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตรบางพูน,ปทุมธานี.102 น.
 
ผดุงศักดิ์  วานิชชัง.2532. การทดสอบสมรรถนะแทรกเตอร์และเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม. ภาควิชาเกษตร กลวิธาน คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
รุ่งเรือง กาลศิริศิลป์. 2545. การจัดการเครื่องต้นกำลังและเครื่องจักรกลเกษตร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
วินิต ชินสุวรรณ. 2530. เครื่องจักรกลเกษตรและการจัดการเบื้องต้น. ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประณต กุลประสูตร,แทรกเตอร์,กรุงเทพฯ,หจก.ฟันนี่ พับบลิชชิ่ง,2544
Vector Mechanics for Engineers แต่งโดย  Ferdinand P. Beer
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา :
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.  การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา :  
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ