การเงินธุรกิจสำหรับนักบัญชี

Business Finance for Accountant

      1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ความหมายของการเงินธุรกิจ และ เป้าหมายของการจัดการทางการเงิน
         ธุรกิจ
      2. เพื่อให้รู้และเข้าใจเครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงิน การพยากรณ์ และ การควบคุมทางการเงิน
      3. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์งบการเงินและพยากรณ์ทางการเงินได้
      4. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียน และ เข้าใจในการจัดการเงินทุนหมุนเวียน
      5. เพื่อให้รู้และเข้าใจการจัดทำงบจ่ายลงทุน
      6. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ และ โครงสร้างทางการเงิน
      7. เพื่อให้รู้และเข้าใจการจัดทำต้นทุนของเงินทุน
      8. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานการเรียนรู้ทั้ง  5 ด้านตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร  
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน
        ศึกษาความหมายของการเงินธุรกิจ เป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจ สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทางการเงิน บทบาทหน้าที่และความสำคัญของตลาดเงินและตลาดทุน เครื่องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ เทคนิคในการวิเคราะห์ การพยากรณ์ และการควบคุมทางการเงิน การจัดการเงินทุนหมุนเวียน งบจ่ายลงทุน วิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ ต้นทุนของเงินทุน และ โครงสร้างทางการเงิน ผลตอบแทนทางการเงินและการลงทุนนโยบายเงินปันผล
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม
1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
              1.  สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ในเนื้อหาวิชาเรียน
              2. ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1. ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษา เกี่ยวการเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา ความมีน้ำใจ และการปฏิบัติ
ในการสอบ
            2. ติดตามการปฏิบัติข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน และ ให้คะแนน 10 คะแนน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
            1. การสอนแบบบรรยายและกรณีศึกษา
           2. การถาม - ตอบในห้องเรียน
          1. การทดสอบย่อย
          2. การสอบกลางภาค
          3. การสอบปลายภาค
3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.3  สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
     1. การบรรยาย  ยกตัวอย่าง และ การถาม-ตอบในชั้นเรียน
              2. ฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด และ กรณีศึกษา
1. ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด และ กรณีศึกษา
               2. การทดสอบย่อย
               3. การสอบกลาง-ปลายภาค          
4.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
             1. ให้มีการอภิปรายกลุ่มย่อย โดยใช้กรณีศึกษา
            2. .ให้นักศึกษาร่วมกันรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
            1. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน โดยนักศึกษาในกลุ่มเป็นผู้ประเมิน
           2. ประเมินจากรายงานที่มอบหมาย
5.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบ  การนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
5.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ 
              1. ให้นักศึกษาร่วมกันรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
              2. มอบหมายบทเรียนโดยให้นักศึกษาเรียนผ่านโปรแกรม e-learning ของตลาดหลักทรัพย์
1. นักศึกษาต้องเข้าเรียนโปรแกรม e-learning ของตลาดหลักทรัพย์ตามจำนวนชั่วโมงขั้นต่ำที่กำหนดไว้
                 2. นักศึกษาต้องได้รับวุฒิบัติจากการเข้าเรียนโปรแกรม e-learning
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 BACAC122 การเงินธุรกิจสำหรับนักบัญชี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2,3,5 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การทดสอบย่อย เข้าเรียนโปรแกรม e-learning ของตลาดหลักทรัพย์และจัดทำรายงานกลุ่ม 9 17 3 11-12 30% 35% 10% 15%
2 1,2,3,4,5 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน การตอบคำถามในห้องเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
หนังสือการเงินธุรกิจ ผู้เรียบเรียง เสรฐสุดา ปรีชานนท์
- ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การวิเคราะห์งบการเงิน พิมพ์ครั้งที่ 5 ฉบับปรับปรุง 2551
www.sec.or.th
ใช้แบบประเมินผลอาจารย์ผู้สอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินการสอนผู้สอนโดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา
ประเมินการสอนจากผลสอบของนักศึกษา
ปรับปรุงจุดบกพร่องในการสอนตามผลการประเมินของนักศึกษา
ปรับปรุงการสอนโดยประเมินจากผลการสอบ การวิเคราะห์ปัญหา และกรณีศึกษา
ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิรายวิชาของนักศึกษา
ตรวจสอบความตรงประเด็นของข้อสอบกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาวิชา
นำผลประเมินข้อ 1 ข้อ3  ข้อ4 มาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา เรื่องผู้สอน ตารางเรียน การทบทวนเพื่อปรับปรุงเนื้อหา และการออกข้อสอบ