เทคนิคการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ 1
Computer Typing Techniques 1
1. รู้แป้นอักษรไทย-อักฤษ
2. พิมพ์สัมผัสได้แม่นยำ ถูกต้องรวดเร็วตามเกณฑ์ที่กำหนด
3. มีเทคนิคในการพิพม์สัมผัส
2. พิมพ์สัมผัสได้แม่นยำ ถูกต้องรวดเร็วตามเกณฑ์ที่กำหนด
3. มีเทคนิคในการพิพม์สัมผัส
เพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติให้มีความรู้ ความเข้าใจทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ มีทักษะพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีที่เพียงพอต่อการทำงาน สามารถนำทักษะไปใช้ได้อย่างเหมาะสมมีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการแรงงาน
ศึกษาวิธีการพิมพ์สัมผัสทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยการพิมพ์จากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้นักศึกษาสามารถพิมพ์ สัมผัสได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยำ
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อตนเองและผู้อื่น มีความสานึกรับผิดชอบต่อ
ส่วนรวม
1.1.2 มีความอดทนและเพียรพยายาม
1.1.3 เคารพกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร และสังคม
1.1.4 มีจิตสานึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้องความดี และความชั่ว
1.2.1 ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีวินัยเน้นการเข้าเรียนตรงเวลาการแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ
ในด้านความซื่อสัตย์ เช่น เน้นการฝึกพิมพ์ถูกวิธี ไม่แอบมองแป้น ไม่ลบคาผิด
1.2.2 เน้นย้าให้มีความอดทนและเพียรพยายามฝึกฝนนอกเวลาอย่างสม่าเสมอและให้
รางวัลคนที่มีความเพียร
1.2.3 อธิบายกฎเกณฑ์ในเรื่องระเบียบการใช้ห้องเรียน ได้แก่ปิดเครื่องอย่างถูกวิธีหลัง
ใช้งานทุกครั้งไม่นาอาหารเข้ามารับประทานในห้องเรียน เก็บเก้าอี้ให้เรียบร้อย ปิดไฟ พัดลม เครื่องปรับอากาศ
1.2.4 ยกย่อง ชมเชย ผู้ที่เป็นแบบอย่างที่ดี ตักเตือนผู้ที่ทาผิดกฎเกณฑ์
1.3.1 ในด้านความมีวินัย ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา สังเกต
การแต่งกาย
1.3.2 ในด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง ประเมินจากความก้าวหน้าในการพิมพ์ของ
ผู้เรียน
1.3.3 ในด้านการเคารพกฎเกณฑ์ ระเบียบการใช้ห้องเรียน ประเมินจากพฤติกรรมของ
ผู้เรียน
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมการปรับปรุงตนเองของผู้เรียนหลังจากการตักเตือน
ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในความสาคัญของวิชาเพื่อนาประโยชน์ของการเรียนไปใช้
ในวิชาอื่น ๆ เช่น การบริหารโครงการ การทาวิจัย และการทารายงานอื่น ๆ นอกจากนี้เพื่อนาไปใช้ในกระบวนการทางาน เช่น การรวบรวมข้อมูลเพื่อเสนอผู้บริหารด้านการวางแผน การควบคุม การประเมินผลรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน ความรู้ที่ต้องได้รับมีสาระสาคัญดังนี้
2.1.1 การเรียนรู้วิธีพิมพ์แป้นอักษรไทย – อังกฤษ ด้วยคอมพิวเตอร์
2.1.2 วิธีพิมพ์สัมผัสได้แม่นยา ถูกต้อง รวดเร็ว
2.1.3 เทคนิคที่ดีในการพิมพ์สัมผัส เพื่อเป็นพื้นฐานให้สามารถนาไปใช้ในการเรียนวิชา
อื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2.1 เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยผู้สอนทาหน้าที่เป็นโค้ชและพี่เลี้ยงโดยดาเนินการดังนี้
ผู้สอนอธิบายวิธีเคาะแป้น เป็นเคาะ เป็นคา (ในการกาหนดคาให้นักศึกษามีส่วนร่วมนาเสนอ) ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ
2.2.2 ผู้สอนจับเวลาการพิมพ์ระยะสั้น ๆ ไม่เกินครึ่งนาที 2-3 ครั้ง ในการฝึกพิมพ์เป็น
เคาะ เป็นคา เพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยา
2.2.3 ให้ผู้เรียนฝึกพิมพ์เป็นประโยค ผู้สอนสังเกตการฝึกพิมพ์ของแต่ละคน หลังจาก
นั้นครูจับเวลา 1 นาที 2 – 3 ครั้ง
2.3.1 ให้ทดสอบท้ายบทโดยพิมพ์และคิดคา เป็นรายบุคคลโดยผู้สอนบันทึกสถิติการ
พิมพ์ของแต่ละคนไว้
2.3.2 การสอบกลางภาค – ปลายภาค
3.1.1 ให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการคิด โดยสามารถเสนอแนวทางในการนาความรู้ที่มีอยู่
นามาใช้ได้ โดยคิดค้นโดยนาความรู้และประสบการณ์ประยุกต์ใช้
3.1.2มีความกล้าในการตัดสินใจที่สอดคล้องกับสถานการณ์
ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการคิดคาใหม่ ๆ เพื่อฝึกพิมพ์โดยนาความรู้และประสบการณ์มา
ประยุกต์ใช้ สามารถตัดสินใจก้าวนิ้วได้รวดเร็ว
สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมและพฤติกรรมการพิมพ์ขณะทดสอบท้ายบทเป็น
รายบุคคลการสอบกลางภาคและปลายภาค
4.1.1 มีความสามารถสร้างสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคล และเข้าใจความแตกต่างระหว่าง
บุคคล
4.1.2 มีความกระตือรือร้นและรับผิดชอบ
4.1.3 มีความสามารถในการแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ อย่างสร้างสรรค์
4.2.1 ให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อซักถามระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
4.2.2 แสดงผลการประเมินของผู้เรียนอย่างเปิดเผยเพื่อให้เกิดความท้าทาย กระตือรือร้น
4.2.3 ให้ผู้เรียนที่มีความสามารถด้านทักษะการพิมพ์เป็นที่ปรึกษาแก่เพื่อนที่มีปัญหา
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมของผู้เรียน
4.3.2 ประเมินจากผลความก้าวหน้าของผู้เรียนจากผลการทดสอบแต่ละครั้ง
5.1.1 มีทักษะในการคิดคานวณเชิงตัวเลข
5.1.1 มีทักษะด้านการพิมพ์ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ
5.1.2 มีความสามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงาน
5.1.3 มีความเข้าใจหลักการคิดคาและสามารถคิดคาได้ถูกต้อง
5.1.4 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จากเว็บไซต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
5.2.1 ผู้สอนอธิบายวิธีการคิดคานวณจานวนคาสุทธิต่อนาทีทั้งพิมพ์ไทยและพิมพ์อังกฤษ
5.2.2 ให้ผู้เรียนฝึกคิดคานวณจานวนคาสุทธิจากสถานการณ์ซึ่งผู้สอนกาหนดเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจ 5.2.3 ผู้สอนสอบถามคาตอบจากผู้เรียนเป็นรายบุคคล 5.2.4 มอบหมายให้ผู้เรียนเลือกสื่อการสอนจากเว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การเรียน
5.2.2 ให้ผู้เรียนฝึกคิดคานวณจานวนคาสุทธิจากสถานการณ์ซึ่งผู้สอนกาหนดเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจ 5.2.3 ผู้สอนสอบถามคาตอบจากผู้เรียนเป็นรายบุคคล 5.2.4 มอบหมายให้ผู้เรียนเลือกสื่อการสอนจากเว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การเรียน
5.3.1 ประเมินจากการสรุปและอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการคานวณคาสุทธิของผู้เรียนในการ
ทดสอบท้ายบททุกครั้ง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 |
1 | 12012204 | เทคนิคการพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ 1 |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1, 1.2, 1.4, 1.5, 5.2, 5.3, 5.4, 5.5, 5.7 | ทดสอบย่อย | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
2 | 2.2,2.3,3.1, 3.3,3.4 | -สอบกลางภาคเรียน (พิมพ์ไทย) | 9 | 30% |
3 | 2.2,2.3,3.1, 3.3,3.4 | -สอบปลายภาคเรียน (พิมพ์อังกฤษ) | 16 | 30% |
4 | 2.2,2.3,3.1, 3.3,3.4 | -งาน - จิตพิสัย | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
1.1 โปรแกรมฝึกพิมพ์สัมผัส “ฝึกพิมพ์ดีด ฉบับสมบูรณ์”โดย Provision
1.2 ตาราฝึกพิมพ์สัมผัส “แป้นพิมพ์ไทย” โดย ผศ.จุรีรัตน์ คานวนสิน
3.1 ดุษฎี กิจไพฑูรย์ และสมหมาย เดชสุภา. พิมพ์ดีดไทย 1-2.วิทยาเขตพณิชยการพระนคร, ม.ป.ป.
3.2 วัชระ ขยัน. พิมพ์ดีดไทย 1-2. วิทยาลัยพณิชการบางนา, ม.ป.ป.
3.3 สมพงษ์ พุทธเจริญ. พิมพ์ดีดไทย 1 -2. กรุงเทพฯ: บริษัทสานักพิมพ์แม๊ค จากัด, ม.ป.ป.
3.4 สาเนียง ปัญญา สมหมาย เดชสุภา สุรางค์ จ้นทรวงศ์. พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น พิมพ์ดีดอังกฤษขั้นพัฒนา พิมพ์ดีดอังกฤษ 1-2: ศูนย์หนังสือเมืองไทย, ม.ป.ป.
1.1 การสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับขอบข่ายและวิธีการสอนระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
1.2 การให้นักศึกษาประเมินผู้สอนที่มีต่อการใช้โปรแกรมพิมพ์สัมผัส
1.3 การประเมินผู้สอนตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
2.1 การแสดงความคิดเห็นที่มีต่อผู้สอนโดยซักถาม และใช้แบบสอบถาม
2.2 ผลการเรียนของผู้เรียน
2.3 การทวนสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
2.4 การทวนสอบผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
3.1 การจัดกิจกรรมการระดมความคิดของผู้เรียน
3.2 การประชุมเกี่ยวกับแผนการจัดการเรียนการสอน/รายวิชาที่สอน
3.3 การวิจัยในชั้นเรียนเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพิมพ์ดีดไทย – อังกฤษ และ
ความคิดเห็นที่มีต่อโปรแกรมฝึกพิมพ์สัมผัส
กระบวนการสอนในรายวิชานี้ มีกระบวนการทวนสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์และเป็นมาตรฐานในรายละเอียดข้อบ่งชี้ตามความคาดหวังของผลการเรียนรู้ ได้มาจากการบันทึกความก้าวหน้าของผู้เรียน การพิจารณาผลการทดสอบท้ายบทเรียนเป็นรายบุคคลทุกบทเรียน และผลการสอบกลางภาค ปลายภาค โดยนักศึกษาสามารถตรวจสอบเพื่อทบทวนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของตน
5.1 การปรับปรุงรายวิชาเมื่อครบกาหนด 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบมาตรฐาน
ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
5.2 การหมุนเวียนเปลี่ยนผู้สอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดมุมมอง ความคิด ความเข้าใจ ทักษะ อันดีเชิงวิชาการจากผู้สอน