ปฐพีวิทยาเบื้องต้น

Principles of Soil Science

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้  1.1 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีการเกิดดิน สมบัติทางกายภาพ ทางเคมี และชีวภาพของดิน ธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช ปุ๋ยและหลักการใช้ปุ๋ยอย่างถูกต้องและเหมาะสม หลักการสำรวจและจำแนกดิน ตลอดจนการอนุรักษ์ดินและน้ำ  1.2 นักศึกษามีทักษะในการเก็บตัวอย่างดินที่ถูกต้อง การวิเคราะห์ดินอย่างง่าย การผลิตปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้ำหมักเพื่อใช้เอง การผสมปุ๋ยเคมีเพื่อใช้เอง  1.3 นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม สามารถสืบค้นและใช้สื่อสารสนเทศได้
เพื่อเพิ่มทักษะการค้นคว้า การอ่าน การวิเคราะห์ และสรุปงานวิจัยใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการดินและปุ๋ย เพื่อจัดทำรายงานหรือนำเสนองานในชั้นเรียน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การกำเนิด สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมีและชีวภาพ ธาตุอาหารในดิน ปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย การจัดการและการอนุรักษ์ดินและน้ำ  The study and practice of the origin of soil, physical of soil, chemical and biological of soil, nutrient, fertilizers and application, the management of soil and water conservation.
- อาจารย์ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในข้อตกลงครั้งแรกของการเรียนการสอน  - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)  3.1 วันพุธเวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์ โทร..089-6458516  3.2 e-mail; Pramoth2550@hotmail.com  3.3 Facebook: ปฐพีวิทยาเบื้องต้น 1/2562
1.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียน ห้องปฏิบัติการตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ  - ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายการปฏิบัติการ และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดเวลา ความพร้อมเพรียงในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
ความซื่อสัตย์ในการสอบและการทำงานมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ใน การดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
บรรยายอภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยนำมาสรุปและนำเสนอการศึกษาโดยใช้ปัญหาและโครงงาน Problem based learning 
การสอนแบบปฏิบัติ
การทดสอบย่อย การทดสอบกลางภาค-ปลายภาค ประเมินจากรายงาน ประเมินจากการนำเสนองาน
3.1.1สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.1.2สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3.1.3ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
ฝึกปฏิบัติ/ให้บริการวิชาการ/วิชาชีพแก่เยาวชนในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์  แก้ไข
ประเมินจากผลการปฏิบัติงานจริง ประเมินจากผู้รับบริการ
4.1.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.1.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 
ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 
รายงานที่นำเสนอพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน   5.1.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์สื่อการสอนการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลขหรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 
- นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม  แก้ไข
 
การจัดทำรายงานและนำเสนอด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม 
การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG010 ปฐพีวิทยาเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ทุกสัปดาห์ 5%
2 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี การมีส่วนร่วมในการทำบทปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ ทุกสัปดาห์ 10%
3 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (หน่วยที่ 1, 2) 6 20%
4 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ การสอบกลางภาค (หน่วยที่ 3, 4) 8 15%
5 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ สอบปลายภาค (หน่วยที่ 6 และสอบบทปฏิบัติการ) 18 20%
6 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม การนำเสนองาน/การรายงาน (หน่วยที่ 7, 8 และงานมอบหมาย) 17 30%
คณาจารย์ ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2544.ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้ง9.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะกรรมการจัดทำปทานุกรมปฐพีวิทยา. 2541. ปทานุกรมปฐพีวิทยา. กรุงเทพฯ :       สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  ปฐพีชล วายุอัคคี. ดินและปุ๋ย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ฐานเกษตรกรรม.  สงบ สำองค์ศรี. 2544. การจัดการดินบนพื้นที่ลาดชัน (กลุ่มชุดดินที่ 62) เพื่อปลูกไม้ยืนต้นในระบบวนเกษตรเชิงอนุรักษ์ดินและน้ำ. ราชบุรี : สำนักงานพัฒนาที่ดิน  เขต 10 กรมพัฒนาที่ดิน.  สุรสิทธิ์ ซาวคำเขต. 2551. วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำโดยใช้แรงคน : กรณีศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองเขียว ต. เมืองนะ อ.เชียงใหม่. เชียงใหม่ : สำนักงานพัฒนา  ที่ดินเขต 6 กรมพัฒนาที่ดิน.  เอิบ เขียวรื่นรมย์. 2542. การสำรวจดิน: มโนทัศน์ หลักการและเทคนิค. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  อำนาจ สุวรรณฤทธิ์. 2551. ปุ๋ยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  Pons, L.J. and Van Der Kevie. 1996. Acid Sulphate Soils in Thailand. Studies on the morphology,genesis and Agricultural Potential of soils  with Cat Clay.  Report SSR 81, Soil surveyDivision, Bangkok 65 P.  Harpstead, M.I., Sauer, Th. J. and Benneth. 2001. Soil Science Simplified. Fourth edition. Ames: Iowa State University Press.W.F.
ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ ชัยฤกษ์ สุวรรณรัตน์ สมชาย กรีฑาภิรมย์ และบุญแสนเตียวนุกูลธรรม. 2542. การวิเคราะห์ N P K ในดินอย่างง่าย. วารสารดินและปุ๋ย 21 :  46-51  Juo and K. Franzluebbers. 2003. Tropical Soils. Properties and Management for Sustainable Agriculture.Oxford : Oxford University Press.  Land Classification. 1973. Soil Interpretation Handbook ForThailand. Department of Land Development, Ministry of Agriculture and  Coorperatives, Bangkok, Thailand.  Washington State University (Tree Fruit Research and Agriculture). Physical Properties of Soil. Updated July 15, 2004. Available from:  http://soils.tfrec.wsu.edu/mg/physical.htm(October, 2, 2009).  - www.science-direct.com 
มีการสนทนาร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนถึงแนวทางการเรียนการสอน มีแบบประเมินผู้สอนและ แบบประเมินรายวิชา
คณะกำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
เสวนาร่วมกันกับผู้สอนในรายวิชาอื่นๆ ถึงแนวทางการสอนที่เห็นว่าน่าจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจยิ่งขึ้น และติดตามพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนในรายวิชาอื่นๆ ว่าเป็นเช่นไร เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาโดยการสอบถามนักศึกษาและการตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผลการสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนในรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้       ปรับปรุงเนื้อหาในรายวิชาให้ทันสมัยทุกเทอมที่มีการเรียนการสอนรายวิชา เชิญอาจารย์พิเศษที่มีประสบการณ์ภาคสนามทางด้านการจัดการดินและปุ๋ยมาสอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้นี้กับปัญหาที่พบจริงในท้องถิ่น หรือนำนักศึกษาไปศึกษาดูงานที่พัฒนาที่ดินเขต 7 มอบหมายโครงงานให้นักศึกษาออกบริการวิชาการทางด้านดินและปุ๋ยแก่ชุมชนของตนเอง โดยมีอาจารย์เป็นพี่เลี้ยง