สิ่งแวดล้อมทางการประมง

Fisheries Environment

เข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม เข้าใจแนวความคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศทางน้ำ     รู้เกี่ยวกับมลพิษทางน้ำ    เข้าใจชีววิทยาน้ำเสียและผลกระทบของสิ่งแวดล้อมทางการประมง
เข้าใจแนวทางการแก้ไขและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางการประมง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางด้านการประมง และปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางด้านการประมงและด้านอื่น ๆ
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม  แนวความคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศทางน้ำ  ความรู้เกี่ยวกับมลพิษทางน้ำ  ชีววิทยาน้ำเสียและผลกระทบของสิ่งแวดล้อมทางการประมง  แนวทางการแก้ไขและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางการประมง
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งการที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม มีความซื่อสัตย์สุจริต
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมโดยดูจากการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามเวลา ไม่ทุจริตในการสอบ
            มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม  แนวความคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศทางน้ำ   รู้เกี่ยวกับมลพิษทางน้ำ    ชีววิทยาน้ำเสียและผลกระทบของสิ่งแวดล้อมทางการประมง   แนวทางการแก้ไขและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางการประมง
2.2.1 สอนแบบบรรยายและบทปฏิบัติการ
           2.2.2 มอบหมายงานค้นคว้า เขียนรายงาน
                         2.2.3 มอบหมายงานที่ต้องส่งรายงานบทปฏิบัติการ
2.3.1 การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
           2.3.2 เนื้อหาและแหล่งข้อมูลในผลงานรายงานค้นคว้า
                  2.3.3 เนื้อหาและแหล่งข้อมูลในรายงานบทปฏิบัติการ
3.1.1 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 มีกรณีศึกษาให้นักศึกษาได้มีโอกาสปฏิบัติจริง  
3.3.1 ประเมินจากผลงานและกาปฏิบัติงานของนักศึกษาโดยการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.1.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่มโดยมีหัวหน้ากลุ่มและ ลูกทีมทำงานร่วมกัน
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน
            5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาให้มีการนำเสนองานในชั้นเรียนโดยให้เลือกใช้การนำเสนองานผ่านระบบคอมพิวเตอร์
5.3.1 การจัดทำรายงานและนำเสนอด้วยสื่อที่เหมาะสม
6.1.1 นักศึกษาใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
6.1.2  นักศึกษาสามารถฝึกทักษะการสืบค้น สังเคราะห์ข้อมูล นำเสนอผลงาน
6.2.1 ฝึกให้นักศึกษาสืบค้น สังเคราะห์ วิเคราะห์ และนำเสนอผลงานผ่านสื่อเทคโนโลยีต่างๆ 
ดูความเข้าใจในการถ่ายทอดองค์ความรู้ของนักศึกษา ผ่านการรายงานหน้าชั้นเรียน และ สื่อเทคโนลยีต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1,2,4 3 1 2,3 1 2 1,3,4 2 1 2,3 1,2
1 23011312 สิ่งแวดล้อมทางการประมง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.4, 3.3 2.1,2.4, 3.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 7,17 60%
2 1.1, 1.5, 4.1,4.3 ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 การเข้าชั้นเรียน การอภิปรายซักถามในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
1. เอกสารและตำราหลัก
   - เกษม  จันทร์แก้ว.  2553.  วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม.  พิมพ์ครั้งที่8, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
              กรุงเทพมหานคร,  357 น.
 
   - กัณฑรีย์  ศรีพงศ์พันธุ์.  2547.  พิมพ์ครั้งที่ 3, มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์. 
             นครปฐม, 431 น.
 
   -  ขวัญฤดี  โชติชนาทวีวงศ์ และคณะ.  2545.  ตำราระบบบำบัดมลพิษน้ำ.  สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม  
             แห่งประเทศไทย.  กรุงเทพมหานคร, 395 น.
 
   - เปี่ยมศักดิ์  เมนะเศวต.  2539.  แหล่งน้ำกับปัญหามลพิษ.  พิมพ์ครั้งที่ 7, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 
             กรุงเทพมหานคร, 318 น. 
 
   - วศิน  อิงคพัฒนากุล.  2548.  นิเวศวิทยาสิ่งแวดล้อม.  มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง     
             สนามจันทร์.  นครปฐม, 232น.
 
   - สนิท  อักษรแก้ว.  2542.  ป่าชายเลน นิเวศวิทยาและการจัดการ.  พิมพ์ครั้งที่ 3,
             มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพมหานคร, 272 น.
 
   - สุวัจน์  ธัญรส.  2550.  วิทยาศาสตร์ทางทะเลเบื้องต้น.  โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.  กรุงเทพมหานคร, 264 น.
ไม่มี
   - เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในลักษณะรายวิชาเช่น Wikipedia, www.google.com   
- เวปไซต์ของ สำนักงานนโยบายและสิ่งแวดล้อม (สผ.) http://www.onep.go.th/
     การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้  ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิด
และความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
     การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้

การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้ ผลการสอบ
หลังจากการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอนดังนี้
-  การปรับเปลี่ยนวิธีการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
          ระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หลังการออกผลการเรียนรายวิชา ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่อาจารย์       ประจำหลักสูตร
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา ดังนี้
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี