การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล

Design of Machine Elements

1. เพื่อให้นักศึกษามีคุณธรรมและจริยธรรม เคารพกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆและสามารถทางานเป็นทีมและมีภาวะความเป็นผู้นาและมีจรรยาบรรณาทางวิชาการ 2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ การวิเคราะห์ความเค้นและโหลด ความเค้นผสม ทฤษฎีวิบัติ การออกแบบสาหรับความเสียหายเนื่องจากความล้า 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์การออกแบบสปริง สกรูส่งกาลัง สลักเกลียว หมุดย้า เฟือง สายพาน โซ่ และเพลาเพื่อการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมได้อย่างถูกวิธีและเป็นระบบ 4. เพื่อให้นักศึกษามีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการออกแบบชิ้นส่วนสาหรับเครื่องจักรกลได้ 5. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องมือคานวณในการแก้ปัญหาการคานวณการออกแบบ สปริง สกรู สลักเกลียว หมุดย้า แบริ่ง เฟือง คลัตซ์ เบรก คับปลิ้ง สายพาน โซ่ และเพลา 6. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเสนอความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ในการแก้ไขสถานการณ์สมมุติได้ และคานึงถึงความปลอดภัยในการทางานของการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลได้ 7. เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมาย 8. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการสื่อสารเพื่อความเข้าใจร่วมกับผู้อื่นได้ในการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
รายวิชานี้ได้ทาการพัฒนาและปรับปรุงและการวัดความรู้พื้นฐานของนักศึกษาก่อนเริ่มทาการสอน เพื่อตรวจสอบและปรับพื้นฐานทางความรู้ให้กับนักศึกษา อีกทั้งพัฒนาเนื้อหาให้เหมาะสมกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ ปรัชญาการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล การเลือกใช้วัสดุในการทำชิ้นส่วนเครื่องจักรกล การวิเคราะห์แรงและความเค้นในชิ้นส่วน ร่องลิ่มและคัปปลิ้ง การออกแบบเพลา สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ ล้อช่วยแรง สปริง แบริ่ง และเฟือง
Study and practice of philosophy of design of machine elements, materials selection for machine elements, forces analysis and stresses in machine parts, keys and coupling, design of shafts, power screws, belts, chain drives, flywheel, springs, bearings and gears.
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
วันและเวลาเรียน
วันศุกร์         2 ชั่วโมง  ระหว่างเวลา 10.00 – 12.00 น. ณ ห้องเรียน ๗๓๒
วันศุกร์         3 ชั่วโมง  ระหว่างเวลา 13.00 – 16.00 น. ณ ห้องเรียนโรงงานพื้นฐาน
1. ตระหนักในคุณค่าความซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ
3. มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ
4. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อสังคม
5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ
1. สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
2. ให้ความสาคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กาหนด มีความรับผิดชอบ
3. จัดกิจกรรมพัฒนาคณะ /ชุมชน
4. ใช้กรณีศึกษาให้นักศึกษาได้วิเคราะห์
5. ปลูกฝังจรรยาบรรณทางวิชาการ ใช้กรณีศึกษา
1. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาการคัดลอกงานจากผู้อื่น การทุจริตในการสอบ
2. การส่งงานตรงเวลา การแสดงออกทางพฤติกรรมที่มีแสดงออกถึงการเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ
3. ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรม การทางานเป็นทีมและการรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
4. ประเมินจากผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
5. การประเมินผลจากการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลที่นาเสนอ การคัดเลือกข้อมูลที่นาเสนอสอดคล้องกับจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1. มีความรู้และความเข้าใจทางการวิเคราะห์ความเค้นและโหลด ความเค้นผสม ทฤษฎีวิบัติ
2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สาคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎี ในเนื้อหาของการออกแบบสาหรับความเสียหายเนื่องจากความล้า
3. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
4. สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสมสาหรับการออกแบบสาหรับความเสียหายเนื่องจากความล้า
5. สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
1. ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2. จัดกิจกรรมการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
3. จัดกิจกรรมการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
4. ฝึกการแก้ปัญหาจากการสร้างสถานการณ์จาลอง
5. ฝึกการแก้ปัญหาจากการสร้างสถานการณ์จาลอง
1.ประเมินการทดสอบด้านทฤษฎี การทดสอบย่อย ใบงาน แบบฝึกหัด สอบกลางภาคและปลายภาค
2.ประเมินการทดสอบด้านทฤษฎี การทดสอบย่อย ใบงาน แบบฝึกหัด สอบกลางภาคและปลายภาค พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
3.พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
4. ประเมินจากความรู้จากกิจกรรม การแก้ปัญหา ทัศนคติต่อปัญหาและแนวทางแก้ไข
5.สังเกตพฤติกรรมด้านความรู้จากกิจกรรม การแก้ปัญหา ทัศนคติต่อปัญหาและแนวทางแก้ไข
1. มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
2. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์การออกแบบสปริง สกรู สลักเกลียว หมุดย้า แบริ่ง เฟือง คลัตซ์ เบรก คับปลิ้ง สายพาน โซ่ และเพลา
3. สามารถคิด วิเคราะห์ การออกแบบสปริง สกรู สลักเกลียว หมุดย้า เฟือง สายพาน โซ่ และเพลา แก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ
4. มีจินตนาการในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม
5. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง
1. ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา
2. ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา
3. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
4. ศึกษากรณีศึกษา
5. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
1.ประเมินจากผลงานของนักศึกษาและการแก้ปัญหา
2.ประเมินจากรายงานผลการดาเนินงาน การแก้ปัญหา และแบบฝึกหัด
3.ประเมินจากรายงานผลการดาเนินงาน การทาแบบฝึกหัดและการแก้ปัญหา
4.ประเมินจากกรณีศึกษา การสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการศึกษา
5.ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
1. มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
2. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมในสถานการณ์สมมติ
3. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง
4. มีความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย
5. มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทางานของการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
1. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับ
2. ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น
3. ให้ความสาคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.กำหนดการทางานกลุ่มโดยหมุนเวียนผู้นา และสมาชิกผลัดกันรายงาน
5. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับ
1. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
2. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม และการระดมสมองเพื่อเสนอความคิดเห็น
3. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม การทำแบบฝึกหัดร่วมกัน
4. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้น การทำแบบฝึกหัดและการบ้าน
5. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็นและทัศนคติ และหลักการออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลในแบบฝึกหัดและการสอบ
1. มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาการคานวณการออกแบบ สปริง เฟือง และเพลา
2. มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์
3. สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม
4. มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน
5. สามารถใช้เครื่องมือการคานวณการแก้ปัญหาการคานวณการออกแบบ สปริง สกรู สลักเกลียว หมุดย้า เฟือง สายพาน โซ่ และเพลา
1. การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนข้อมูลเชิงตัวเลข
3. มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
4. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนาเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจ
5. ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนข้อมูลเชิงตัวเลข
1. ประเมินจากผลงานและการนาเสนอผลงาน
2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาด้านความมีเหตุผล
3. ประเมินจากผลงานและการนาเสนอผลงาน
4. ประเมินจากผลงานและการนาเสนอผลงาน
5. ประเมินจากผลงาน แบบฝึกหัด และการสอบประเมินวัดผล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และ ความรับผิดชอบ 5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. สังเกต 2. การสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 3. งานมอบหมาย การถาม / ตอบปัญหา 4. สังเกตการณ์ส่งงานที่มอบหมาย 5. งานมอบหมาย 1. สังเกต ตลอดภาคการศึกษา 2. การสอบย่อย สัปดาห์ที่ 3, 10, 12, 14 , สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 , สอบปลายภาค 17 3. งานมอบหมาย การถาม / ตอบปัญหา ตลอดภาคการศึกษา 4. สังเกตการณ์ส่งงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5. งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 5 % 2. ความรู้ 55 % 3. ทักษะทางปัญญา 30 % 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และ ความรับผิดชอบ 5 % 5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5 %
วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์ และชาญ ถนัดงาน. 2552. การออกแบบเครื่องจักรกล เล่ม 1. บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด(มหาชน) วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์ และชาญ ถนัดงาน. 2552. การออกแบบเครื่องจักรกล เล่ม 2. บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด(มหาชน) Joseph E. Shingley, Charles R. Mischke, Richard G. Budynas. Mechanical Engineering Design
1. Robert C. Juvinall, Kurt M. marshek. Fundamentals of Machibe Component design. 2. จารูญ ตันติพิศาลกุล. 2547. การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 1 และ 2 .เอส อาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์. 3. ภานุฤทธิ์ ยุกตะทัต. 2554. การออกแบบเครื่องจักรกล 1. บริษัท สานักพิมพ์ท้อปจากัด 4. ภานุฤทธิ์ ยุกตะทัต. 2554. การออกแบบเครื่องจักรกล 2. บริษัท สานักพิมพ์ท้อปจากัด
เวปไซด์การออกแบบเครื่องจักรกลและหนังสือที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบเครื่องจักรกลอื่น ๆ
1. สนทนาสอบถามความคิดเห็นนักศึกษาเป็นรายคนและเป็นกลุ่ม 2. การใช้แบบประเมินการเรียนการสอนช่วงกลางภาคเรียน 3. รับฟังความคิดเห็นผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น E-mail , facebook.
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน 2. ทดสอบวัด ผลการเรียนของนักศึกษาระหว่างเรียน 3. การตรวจงานที่มอบหมาย
ปรับปรุงการเรียนการเรียนการสอนโดยสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษา การทาใบงาน แบบฝึกหัด ยืดหยุ่นเวลา ตามความสามารถของนักศึกษา เพื่อให้นักศึกเข้าใจบทเรียนมากที่สุด
1. การทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ โดยการสังเกต สัมภาษณ์ สอบถาม และตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา หรืองานที่มอบหมาย 2. การทวนสอบจากผลการเรียนรู้แต่ละด้านของรายวิชา
1. นาข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ 2. วิเคราะห์ข้อมูลผลการเรียนของนักศึกษา ทั้งคะแนนสอบ ผลงาน และการสัมภาษณ์นักศึกษา ในช่วงต้นภาคเรียน 3. ดาเนินการปรับปรุงกระบวนการสอนให้ตรงตามความต้องการของนักศึกษา