กลศาสตร์เครื่องจักรกล

Mechanics of Machinery

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน และการวิเคราะห์ความเร็ว ความเร่งและแรงของกลไกและชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน ทางด้านกลไก และชิ้นส่วนเครื่องจักรกล รวมไปถึงการวิเคราะห์ความเร็ว ความเร่ง และแรงในชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ความเร็วและความเร่งในเครื่องจักรกล กลไก และชิ้นส่วนเครื่องจักรกล การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนเครื่องจักรขบวนเฟืองและระบบกลไก การสมดุลในชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายเพื่อชี้ให้เห็นผลเสียจากความไม่ซื่อสัตย์สุจริต และแจ้งให้ทราบถึงบทลงโทษในกรณีการทุจริตการสอบ มอบหมายงานหรือแบบฝึกหัด และกำหนดระยะเวลาการส่งงานตามความเหมาะสม กำหนดกติกาภายในห้องเรียน เพื่อให้เกิดบรรยากาศในการเรียนการสอนที่เหมาะสม ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
1.3.1 ประเมินผลจากสภาพบรรยากาศภายในห้องสอบ
1.3.2 ประเมินผลจากการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.3 ประเมินผลจากสภาพบรรยากาศภายในห้องเรียน
2.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานในด้านวิศวกรรมเกี่ยวกับพลศาสตร์ของเครื่องจักรกล
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทางทฤษฎีของการวิเคราะห์เครื่องจักรกล
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้เกี่ยวกับพลศาสตร์ของเครื่องจักรกลเข้ากับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีที่เหมาะสม
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะด้านการวิเคราะห์เครื่องจักรกลในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 การบรรยาย เนื้อหาตามบทเรียน
2.2.2 การอภิปรายตัวอย่าง
2.2.3 การมอบหมายการทำงานกลุ่ม และนำเสนอรายงาน
2.2.4 การวิเคราะห์กรณีศึกษาจากตัวอย่างงานจริง
2.3.1 การสอบกลางภาค และปลายภาค
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ ผลการค้นคว้าข้อมูล
2.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรม
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 การมอบหมายการทำงานกลุ่ม และนำเสนอรายงาน
3.2.2 การวิเคราะห์กรณีศึกษาจากตัวอย่างงานจริง
3.3.1 ประเมินจากการนำเสนอ ผลการค้นคว้าข้อมูล
3.3.2 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
3.3.3 การสอบกลางภาค และปลายภาค
4.1.1 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.2 รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอ
4.2.2 มอบหมายงานทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม
4.3.1 ประเมินจากการวางแผนงาน การแบ่งงานในการทำกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากงานบุคคลที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 ยกตัวอย่างการคำนวณและสุ่มเลือกนักศึกษาเพื่อทำการคำนวณตัวเลขในตัวอย่าง
5.3.1 ประเมินจากความถูกต้องในการตอบค่าตัวเลขที่ได้จากการคำนวณ
5.3.2 การสอบกลางภาค และปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
1 31074302 กลศาสตร์เครื่องจักรกล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 2.1, 2.2, 2.4, 3.1, 3.3, 5.1 สอบกลางภาค 8 35%
2 1.1, 2.1, 2.2, 2.4, 3.1, 3.3, 5.1 สอบปลายภาค 17 40%
3 1.2, 1.3, 2.3, 4.1, 4.2, 5.1 การส่งงานรายบุคคล การเข้าชั้นเรียน และการตอบคำถาม ทุกสัปดาห์ 15%
4 1.2, 2.3, 2.4, 2.5, 3.2, 3.4, 3.5, 4.1, 4.2 การส่งงานกลุ่ม การอภิปรายและนำเสนองานกลุ่ม 9, 12, 16 10%
- Hamilton H. Mabie and Charles F. Reinholtz. Mechanisms and Dynamics of Machinery 4th Edition. John Wiley & Sons, Inc. 1987.
- ประสงค์ อิงสุวรรณ. กลศาสตร์ของเครื่องจักรกล ตอนสอง. โครงการตำราภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่, 2530.
- วุฒิชัย กปิลกาญจน์. กลไกและพลศาสตร์ของเครื่องจักรกล. ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ การพิมพ์, กรุงเทพฯ, 2528.
- ประสงค์ อิงสุวรรณ. กลศาสตร์ของเครื่องจักรกล 1. โครงการตำราภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ