คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า

Electrical Engineering Mathematics

เพื่อศึกษาฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน เพื่อศึกษาการวิเคราะห์เวกเตอร์ เพื่อศึกษาอนุกรมฟูริเยร์ เพื่อศึกษาอินทิกรัลฟูริเยร์ เพื่อศึกษาผลการแปลงฟูริเยร์ เพื่อศึกษาผลการแปลงลาปลาซ เพื่อศึกษาผลการแปลง Z เพื่อประยุกต์ใช้ในทางทางวิศวกรรมไฟฟ้า
   
เพื่อให้เนื้อหาทันสมัย และก้าวทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป
ฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน วิเคราะห์เวกเตอร์ อนุกรมฟูริเยร์ อินทิกรัลฟูริเยร์ ผลการแปลงฟูริเยร์ ผลการแปลงลาปลาซ ผลการแปลง Z และการประยุกต์ทางวิศวกรรมไฟฟ้า
           9 ชั่วโมง/สัปดาห์ วันอังคาร 6 ชั่วโมง และวันพุธ 3 ชั่วโมง
คุณธรรม จริยธรรม


มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์


ความรู้


มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง


 ทักษะทางปัญญา


มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ


ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ


มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม


ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ด้านทักษะพิสัย


มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
คุณธรรม จริยธรรม ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมินผล มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด การขานชื่อ   การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง  
 
 
 
 
 
 
 
ความรู้ ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมินผล มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชวิศวกรรมไฟฟ้า จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  การทดสอบย่อย สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมการเรียนรู้            สังเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าศูนย์การเรียนรู้
  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ฝึกการแก้ปัญหาจากการสร้างสถานการณ์จำลอง การทดสอบย่อย
   
ทักษะทางปัญญา ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมินผล มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction) ประเมินผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ ประเมินผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง        
 
 
 
 
 
 
 
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมินผล มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อ ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
  ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ   พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (Brainstorming )     สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา  
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมินผล สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
  สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ส่งเสริมการค้นคว้า  เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง  และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล          ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
   
 
 
ด้านทักษะพิสัย ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมินผล มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำ mini project โดยการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรวจวัดผลงานที่อ้างอิงกับทฤษฎีได้ถูกต้องและส่งได้ถูกต้องตรงตามเวลา มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี ทำ mini project โดยอาศัยการเรียนแบบ PJB ในบางหัวสอน ตรวจวัดผลงานที่อ้างอิงกับทฤษฎีได้ถูกต้อง

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กิจกรรมที่ ผลการ
เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ
การประเมินผล 1 1-4       
 1-7                 8-11
1-14 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1
สอบกลางภาค
ทดสอบย่อยครั้งที่ 2
สอบปลายภาค 4
9
12
18 10%
25%
10%
25% 2 1-14 การทำงานกลุ่มและผลงาน
การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20% 3 1-14 การเข้าชั้นเรียน
การมีส่วนร่วม  อภิปราย  เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การคำนวณ
การวิเคราะห์รูปคลื่นไฟฟ้า
สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม   ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ   ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด   ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม    
 
 
 
 
 
 
 
ความรู้ วิธีการสอน   จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
    จัดศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมการเรียนรู้              ฝึกการแก้ปัญหาจากการสร้างสถานการณ์จำลอง    
ทักษะทางปัญญา วิธีการสอน   ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)   มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์        
 
 
 
 
 
 
 
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ วิธีการสอน   ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อ ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
    ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (Brainstorming )       ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม   ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ    
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีการสอน   การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย   ส่งเสริมการค้นคว้า  เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง  และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล             
 
 
ด้านทักษะพิสัย วิธีการสอน   ทำ mini project โดยการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ   ทำ mini project โดยอาศัยการเรียนแบบ PJB ในบางหัวสอน  
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
    สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
    การขานชื่อ   การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง    
 
 
 
 
 
 
 
ความรู้ วิธีการประเมินผล   การทดสอบย่อย   สังเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าศูนย์การเรียนรู้
    การทดสอบย่อย
     
ทักษะทางปัญญา วิธีการประเมินผล   ประเมินผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง   ประเมินผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง        
 
 
 
 
 
 
 
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ วิธีการประเมินผล   ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ   พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
    สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง   ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี   ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา    
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีการประเมินผล   ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
    ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
     
 
 
ด้านทักษะพิสัย วิธีการประเมินผล   ตรวจวัดผลงานที่อ้างอิงกับทฤษฎีได้ถูกต้องและส่งได้ถูกต้องตรงตามเวลา   ตรวจวัดผลงานที่อ้างอิงกับทฤษฎีได้ถูกต้อง  
การคิดคำนวณ
การแก้ปัญหา
บรรยาย
การบ้าน
นำเสนอหน้าชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการ
เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ
การประเมินผล 1 1-4       
 1-7                 8-11
1-14 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1
สอบกลางภาค
ทดสอบย่อยครั้งที่ 2
สอบปลายภาค 4
9
12
18 10%
25%
10%
25% 2 1-14 การทำงานกลุ่มและผลงาน
การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20% 3 1-14 การเข้าชั้นเรียน
การมีส่วนร่วม  อภิปราย  เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
นำเสนอหน้าชั้น
ใช้การคำนวณ
การวิเคราะห์เวกเตอร์ ฟูเรียร์และลาปลาซ
แบบฝึกหัด และสอบกลางภาค  และปลายภาค
ทักษะในการคำนวณ
บอกสูตร และให้คำนวณ
แบบฝึกหัดและข้อสอบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 1-4 1-7 8-11 1-14 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 18 10% 25% 10% 25% 2 1-14 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20% 3 1-14 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 1-4 1-7 8-11 1-14 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 18 10% 25% 10% 25% 2 1-14 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20% 3 1-14 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10% ทดสอบ 15 20%