เครื่องมือทุ่นแรงก่อนการเก็บเกี่ยว

Pre-Harvest Machinery

จุดมุ่งหมายของรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง และชิ้นส่วนของเครื่องมือเตรียมดินชนิดต่างๆ  เครื่องปลูก และเครื่องมือบำรุงรักษาพืช การเลือก  การใช้  การปรับแต่ง  การแก้ไขข้อขัดข้อง  และการบำรุงรักษาเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม
 
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจในศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ โครงสร้าง และชิ้นส่วนของเครื่องมือเตรียมดินชนิดต่างๆ  เครื่องปลูก และเครื่องมือบำรุงรักษาพืช การเลือก  การใช้  การปรับแต่ง  การแก้ไขข้อขัดข้อง  และการบำรุงรักษาเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง และชิ้นส่วนของเครื่องมือเตรียมดินชนิดต่างๆ  เครื่องปลูก และเครื่องมือบำรุงรักษาพืช การเลือก  การใช้  การปรับแต่ง  การแก้ไขข้อขัดข้อง  และการบำรุงรักษาเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
     มีวินัย  ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น สำนึกในหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งเคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
     1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
      2.กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
     3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
     4. มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ
      การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์
      1.ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วมกิจกรรม
      2.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
      3.ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
      1. เข้าใจความรู้พื้นฐานของศาสตร์สาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต
       2. มีความรอบรู้ โดยการผสมผสานเนื้อหาในศาสตร์ต่าง  ๆ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม
      วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
      3.   แสวงหาความรู้จากงานวิจัย  หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ
    1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
    2.  จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
     3. จัดบรรยายพิเศษโดยวิทยากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์ตรง
1.  การนำเสนอหน้าชั้นเรียน การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.  ประเมินจากรายงานการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา
3.  ประเมินจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.   สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม      
2.   สามารถสืบค้นและประเมินข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
3.   สามารถคิดวิเคราะห์ รู้เท่าทันสถานการณ์และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
4.   สามารถนำความรู้ ไปเชื่อมโยงกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อทำความเข้าใจและสร้างสรรค์สังคม
1.  จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิด ทั้งในระดับบุคคลและกลุ่ม เช่น สะท้อนคิด อภิปรายกลุ่ม การทำกรณีศึกษา ฯลฯ
2.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติงานจริง
1.  การเขียนรายงานของนักศึกษา
2.  การนำเสนอผลงาน
3.  การใช้ข้อสอบหรือแบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาคิดแก้ปัญหา
1.   มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในฐานะผู้นำหรือสมาชิกของกลุ่ม   
2.   สามารถปรับตัว รับฟัง ยอมรับความคิดเห็น และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นำและ
      สมาชิกของกลุ่ม
3.   มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.   สามารถรวมกลุ่มคิดริเริ่ม วางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข
5.   รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
1.  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
2.  สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ฯลฯ
  สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาขณะทำกิจกรรมกลุ่ม การนำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม ประเมินความสม่ำเสมอของการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย     ประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้น
1.   สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน
2.  ก้าวทันเทคโนโลยีปัจจุบันและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ์
      เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอ และสื่อสาร
3.   เข้าใจปัญหา วิเคราะห์ และเลือกใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสถิติที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา
จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ  จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหลากหลายและเหมาะสม

จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางคณิตศาสตร์และสถิติ
  ทักษะการพูดในการนำเสนอผลงาน ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความสามารถในการใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่ออธิบาย อภิปรายผลงานได้อย่างเหมาะสม เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาเชิงตัวเลข

 
 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
สามารถปฏิบัติงานได้โดย
ฝึกปฏิบัติการ
ให้แบบฝึกหัด
สังเกตจากการปฏิบัติ
ประเมินจากการมอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ ประเมิน สัดส่วนของการ ประเมินผล 1 1.1 – 3.6 4.1 – 6.6 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 30% 30% 2 1.1 –6.6 การทำรายงาน 18-19 20% 3 1.1 – 6.6 การทำงานกลุ่ม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 14%
เอกสารและตำราหลัก

   ประชุม เนตรสืบสาย และพันทิพา อันทิวโรทัย.  2526.  เครื่องทุ่นแรงฟาร์มภาค 1.
            ศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตรบางพูน,ปทุมธานี.102 น.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร โดยการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อแนะนำผ่านเว็บบอร์ดใน LMS ประจำรายวิชาที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
- สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
- ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
 การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4