ปฏิบัติการฟิสิกส์เบื้องต้น

Introduction to Physics Laboratory

             1. สามารถใช้อุปกรณ์พื้นฐานทางฟิสิกส์
                2. นำความรู้จากรายวิชาฟิสิกส์เบื้องต้นมาปฏิบัติการทดลอง
                3. สามารถวิเคราะห์และสรุปข้อมูลอย่างมีเหตุผล
                4. พัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง โดยให้รู้จักการหาข้อมูลด้วยการปฏิบัติการทดลอง
                5. มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและฝึกทักษะ เครื่องมือ ทางฟิสิกส์มากขึ้น
2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ปฏิบัติการทดลองไม่น้อยกว่า 10 การทดลอง  โดยเนื้อหาสอดคล้องกับเนื้อหาวิชาฟิสิกส์เบื้องต้น
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย  ขยันอดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ควานรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
แบ่งกลุ่มนักศึกษาเพื่อทำการทดลอง บรรยาย   อธิบายการทดลองพร้อมยกตัวอย่างให้เหมาะสมกับการทดลอง ให้นักศึกษาทำการทดลอง  บันทึกผลการทดลอง  วิเคราะห์  สรุปและตอบคำถามท้ายเอกสารการทดลอง ตรวจสอบความถูกต้องและให้คำแนะนำ  บันทึกผลการทดลอง  วิเคราะห์  สรุปและตอบคำถามท้ายเอกสารการทดลอง
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา สังเกตพฤติกรรมขณะทำการทดลอง ดูรายงานบันทึกผลการทดลอง สรุปผลการทดลองและการตอบคำถามท้ายบท
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในด้านเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  ทำการทดลอง  การทำงานกลุ่ม  และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุป  การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี ประเมินจากเอกสารการทดลอง  เช่น บันทึกผลการทดลอง  การวิเคราะห์  การสรุปและตอบ สอบปฏิบัติรายบุคคล
มีทักษะในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ
สอนการเก็บข้อมูล  วิเคราะห์  และสรุปผลการทดลองโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ ให้ค้นคว้าด้วยตัวเองเพื่อตอบ
ปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ วัดผลจากการส่งเอกสารการทดลอง จากการแก้ไขปัญหาโจทย์ท้ายการทดลอง
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
แบ่งกลุ่มเพื่อทำการทดลอง มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล การเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
ประเมินจากเอกสารการทดลองที่ส่ง  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม ประเมินจากการตอบคำถามท้ายการทดลอง  
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
สามารวิเคราะห์ผลการทดลองได้โดยสามารถประมวลผลเปรียบเทียบค่าความคลาดเคลื่อนได้ นำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองได้โดยการใช้กราฟ
ประเมินจากเอกสารการทดลองที่ส่ง ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการสรุปผลการทดลองและการวิเคราะห์แก้ปัญหาท้ายการทดลอง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 -งานที่มอบหมาย -ใบบันทึกผลการทดลอง -สรุปผลการทดลอง -ตอบคำถามท้ายการทดลอง -ความถูกต้องของการเก็บข้อมูล -สรุปผลการทดลอง -ตอบคำถามท้ายการทดลอง ตามความเหมาะสม ร้อยละ 50
2 -ทักษะทางปัญญา -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี -สอบปฏิบัติรายบุคคล -สอบทฤษฏีการปฏิบัติ ตามความเหมาะสม ร้อยละ 40
3 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
1. ฟิสิกส์ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 2. ฟิสิกส์ 1 ทบวงมหาวิทยาลัย
2.1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ฟิสิกส์ 1
2.2 รศ.ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์  , ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย
2.3 คณาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
2.4 R.A. Serway, J.W. Jewett , Physics for Scientists and Engineers 6th ed.,
2.5 The Feyman lectures on Physics , Richard P. Feynnan , Add : son – Wesley publishing company ,1971.
2.6 Physics scientists & engineers with modern physics Douglas C. Giancoli , Prentice Hall, 2009.
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
                         http://www.sci.rmuti.ac.th/physics/physics1/Physics1Slides.html
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 3. แบบประเมินผู้สอนที่นักศึกษาต้องกรอกในระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
1.   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.   ผลการเรียนของนักศึกษา
3.   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
1.   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2.   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1.  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2.   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
        1.  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
        2.   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป