จุลชีววิทยาอาหาร

Food Microbiology

อธิบายความหมายและความสำคัญของจุลชีววิทยาอาหาร อธิบายชนิดและการเจริญของจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร และเป็นสาเหตุให้อาหารเสื่อมเสียหรือเป็นพิษ

1.3  นำความรู้ ทักษะทางจุลชีววิทยาอาหารที่สำคัญไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง และการใช้ชีวิตได้
2.1 เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
     กระทรวงศึกษาธิการ
2.2 เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่มีความสำคัญต่ออาหาร ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญของจุลินทรีย์ในอาหาร จุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์อาหารประเภทต่าง ๆ จุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารและผลิตภัณฑ์เกิดการเสื่อมเสียและการเกิดอาหารเป็นพิษ ผลของกรรมวิธีการถนอมอาหารที่มีผลต่อจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ที่ใช้เป็นดัชนีในอาหาร มาตรฐานและการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ในอาหาร
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง FT202  โทร. 082-1658-141
    3.2  e-mail:    piyanuch_ros@hotmail.com    เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
มีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ข้อปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ การเข้าห้องเรียนตรงเวลา เข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ

เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมทั้งใน/นอกมหาวิทยาลัยจัด
การนำเสนองาน ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย พฤติกรรมการเข้าเรียน (เข้าเรียนสม่ำเสมอ/เข้าเรียนตรงต่อเวลา) ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา ไม่มีการทุจริตในการสอบ
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าว หน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ใช้ Power point วีดีโอ การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลความก้าว หน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
การเขียนบันทึก การนำเสนองาน ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ในลักษณะข้อสอบอัตนัย

ประเมินจากนำเสนอการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
วิเคราะห์กรณีศึกษาจากผู้ประกอบการจริง โดยกำหนดผลิตภัณฑ์อาหารแล้วแบ่งกลุ่มให้นักศึกษาประเมินการปนเปื้อนและเสนอแนะวิธีการป้องกันการปนเปื้อน ลด ทำลาย หรือควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ในกระบวนการผลิตอาหารและนำเสนอผลการศึกษา การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
การเขียนบันทึก การนำเสนองาน

ข้อสอบอัตนัย/ปรนัย
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)กิจกรรมการบูรณการร่วมระหว่างการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการสู่ชุมชน จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาในลักษณะของการทำงานเป็นทีม มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น รายงานบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา

การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม รายงานที่นำเสนอและผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website และสื่อต่างๆ และทำรายงานโดยเน้นการอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ โดนส่วนหนึ่งนักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษ

นำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียนโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
ประเมินจากรายงานและวิธีการนำเสนอข้อมูล ประเมินจากภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
š6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
š6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
š6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
การสอนแบบปฏิบัติการในห้องทดลอง ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ/ศูนย์เรียนรู้
รายงานผลการปฏิบัติการ

2.ข้อสอบอัตนัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ 6.ด้านทักษะ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าว หน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 BSCFT010 จุลชีววิทยาอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 2.1 3.4, 4.1, 6.1 สอบกลางภาค (หน่วยที่ 1-4) สอบปลายภาค (หน่วยที่ 5-7) สอบปฏิบัติ 10 18 17 30 % 30 % 10 %
2 1.3, 1.5, 2.3, 5.2, 5.6 4.1, 6.1 4.1 การนำเสนองานวิจัยและรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งรายงานบทปฏิบัติการ 15-16 7 % 5 % 8 %
3 1.3 1.5 การเข้าชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 5 % 5 %
1.  ผศ. ดร. สุวิมล  กีรติพิบูล. 2543. ระบบประกันคุณภาพด้านความปลอดภัยของอาหาร HACCP.  สนพ.สมาคม ส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น (สสท.). กทม.
2.  รศ.ดร. เรณู  ปิ่นทอง. 2543.  เอกสารประกอบการฝึกอบรมสัมมนาเรื่องการป้องกันการปนเปื้อนจากเชื้อโรคอันตรายในอาหาร การตรวจจุลินทรีย์ในอาหารและกฏหมายอาหารระหว่างประเทศ. ภาควิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
3. รศ.บัญญัติ  สุขศรีงาม. จุลชีววิทยาทั่วไป. สนพ.โอเดียนสโตร์. กทม.
วารสารอาหาร, Journal of Food Science, Journal of Food Technology, Journal of the Science of Food and Agriculture เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร Wikipedia  คำอธิบายศัพท์ เอกสารประกอบการสอน บทปฏิบัติการ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2 แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอนเมื่อหมดภาคการศึกษา
แต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน หรือ แต่งตั้งกรรมการพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา
3.1 ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของประเทศที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารและ ธุรกิจด้านอาหาร การเปลี่ยนแปลงของโลก และพัฒนาหลักสูตรทุก 5 ปี
3.2 การวิจัยในชั้นเรียน
ทวนสอบคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมิน ข้อ 1 และ 2 มาปรับปรุงรายวิชา ในภาคเรียนต่อไป